หมวดการศึกษา
- ทำไมหลายปอเนาะจึงจัดงานรื่นเริงในวันศุกร์
(ดู หนังสือ الفتاوى الكبرى , จุซอ์ที่ 1 หน้า 236)
- สิทธิของครูที่อนุญาตให้ลงโทษตามแต่ดุลพินิจของตนต่อลูกศิษย์ได้
(ดู หนังสือ الشرواني , จุซอ์ที่ 9 หน้า 179)
- ไม่อนุญาตให้ครูเฆี่ยนตีลูกศิษย์
(ดู หนังสือ إعانة الطالبين , จุซอ์ที่ 4 หน้า 169)
- วิชาความรู้ได้ถูกแบ่งออกเป็นหลากหลายหุกุม (กฎ)
(ดู หนังสือ سبعة كتب مفيدة , หน้า 14-15)
- การถกเถียง มีทั้งดี และน่าตำหนิ
(ดู หนังสือ الفتاوى الحديثية , หน้า 104 พิมพ์ที่ดารุลฟิกฮฺ)
- หุกุมการเป็นครูจำเป็นหรือไม่
(ดู หนังสือ الموسوعة الفقهية , จุซอ์ที่ 29 หน้า 7)
- วิชาความรู้ที่หลงทางคือ ...
(ดู หนังสือ فوائد المكية , หน้า 19 พิมพ์ที่ มักตะยะฮ์อัลฮิดายะฮ์ สุรายาบา)
- จำต้องเรียนรู้ถึงสิ่งต่างๆ ที่จะทำให้วุฎูอ์ (นำละหมาด) เกิดความสมบูรณ์
(ดู หนังสือ تعليم المتعلم , หน้า 4 พิมพ์ที่สุลัยมาน มัรอีย์)
- นักเรียนนักศึกษาจำต้องได้รับค่าเลี้ยงดู
(ดู หนังสือ بجيرمي , หน้า 80)
- เมื่อครูไม่ได้ค่าจ้าง ก็อนุญาตให้ไม่ต้องสอนหรือไม่
(ดู หนังสือ الشرواني , จุซอ์ที่ 2 หน้า 127-216 พิมพ์ที่ดารุลกุตุบอัลอิลมียะฮ์)
- มนุษย์มีอิสระในการคิดอะไรก็ได้ โดยไม่เป็นบาปแต่อย่างใด
(ดู หนังสือ تشريع الجنائي , จุซอ์ที่ 1 หน้า 31 พิมพ์ที่ดารุลฟิกฮฺ)
- อิมามอัลเฆาะซาลีย์ว่ากันว่าเป็นบุคคลแรกที่แสวงหาความรู้เพื่อโลกดุนยา
(ดู หนังสือ منهج ذوي النطر หน้า 175-176)
- สิ่งที่ยากแก่การให้อภัย แม้จะเป็นนักเรียนนักศึกษาก็ตาม
(ดู หนังสือ إعانة الطالبين , จุซอ์ที่ 2 หน้า 44 และเล่มเดียวกันนี้, จุซอ์ 1 หน้า 199)
- การนำบุตรหลานเข้าโรงเรียนที่ไม่ใช่แนวอิสลาม
(ดู หนังสือ المقررات النهضية หน้า 40)