ผู้เขียน หัวข้อ: การทำแท้ง  (อ่าน 969 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ الفاتنجي

  • เพื่อนแรกพบ (^^)/
  • *
  • กระทู้: 4
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
การทำแท้ง
« เมื่อ: เม.ย. 14, 2014, 02:22 AM »
0

إسقاط الحمل
การทำแท้ง

وإذا كان الإسلام قد أباح للمسلم أن يمنع الحمل لضرورات تقتضي ذلك فلم يبح له أن يجني هذا الحمل بعد أن يوجد فعلا.

เมื่อปรากฏว่าศาสนาอิสลามอนุโลมให้แก่มุสลิมในการห้ามการตั้งครรภ์ เพราะเนื่องจากว่ามีความจำเป็นที่นำพาให้กระทำสิ่งดังกล่าว อิสลามก็ไม่อนุโลมแก่มุสลิมในการที่จะก่ออาชญากรรมกับเด็กในครรภ์ภายหลังจากที่เขามีเป็นตัวเป็นตนแล้วอย่างแน่นอน ถึงแม้ว่าการตั้งครรภ์นี้ จะเกิดขึ้นมาโดยทางที่มิชอบก็ตาม

واتفق الفقهاء على أن إسقاطه بعد نفخ الروح فيه، حرام وجريمة، لا يحل للمسلم أن يفعله لأنه جناية على حي، متكامل الخلق، ظاهر الحياة، قالوا: ولذلك وجبت في إسقاطه الدية إن نزل حيا ثم مات، وعقوبة مالية أقل منها إن نزل ميتا.

บรรดานักวิชาการนิติศาสน์อิสลามต่างมีความเห็นพ้องต้องกันในเรื่องของการทำแท้งภายหลังจากการเป่าวิญญาณเข้าไปในครรภ์แล้วนั้น เป็นเรื่องที่ฮาราม และเป็นการก่ออาชญากรรม ไม่อนุญาตให้แก่มุสลิมในการที่กระทำเช่นนั้น เพราะว่าเป็นการก่ออาชญากรรมต่อสิ่งมคชีวิตซึ่งถูกสร้างมาอย่างสมบูรณ์แล้ว มีชีวิตปรากฎชัดแล้ว บรรดานักวิชาการจึงกล่าวว่า : ด้วยเหตุดังกล่าวนั้น จำเป็นที่จะต้องมีการจ่ายค่าสินไหมจากการทำให้เด็กแท้ง ถ้าหากว่าเด็กนั้นคลอดออกมาในสภาพที่มีชีวิต แล้วต่อมาเด็กก็ตายลง และโทษทางด้านทรัพย์สินจะลดน้อยลง ถ้าหากว่าเด็กนั้นคลอกออกมาในสภาพที่ตายแล้ว

ولكنهم قالوا: إذا ثبت من طريق موثوق به أن بقاءه -بعد تحقق حياته هكذا- يؤدي لا محالة إلى موت الأم،

แต่ทว่านักวิชาการได้กล่าวว่า เมื่อมีการยินยันจากวิธีการที่น่าเชื่อถือได้ว่า การคงอยู่ของเด็กหลังจากการมีชีวิตที่แน่นอนแล้ว เช่นนี้ จะนำไปสู่การเสียชีวิตของแม่อย่างไม่มีทางเลี่ยง

فإن الشريعة بقواعدها العامة تأمر بارتكاب أخف الضررين

ฉะนั้นตามหลักนิติศาสตร์ด้วยกับหลักการนิติบัญญัติทั่วๆไปนั้น ใช้ให้กระทำสิ่งที่เป็นอันตรายที่เบาที่สุดระหว่างสองอันตรายดังกล่าวนั้น

فإذا كان في بقائه موت الأم، وكان لا منقذ لها سوى إسقاطه، كان إسقاطه في تلك الحالة متعينا، ولا يضحي بها في سبيل إنقاذه؛

ฉะนั้นเมื่อปรากฏว่าการคงอยู่ของเด็กนั้น คือความตายของแม่ และไม่มีหนทางใดๆสำหรับนาง นอกเสียจากว่าจะต้องทำแท้ง ดังนั้นการทำแท้งในกรณีเช่นนี้ ถือว่าเป็นเรื่องที่จำเป็น และจะต้องไม่มคการสังเวยนางในหนทางที่จะช่วยให้เด็กรอด

لأنها أصله، وقد استقرت حياتها، ولها حظ مستقل في الحياة، ولها حقوق وعليها حقوق، وهي بعد هذا وذاك عماد الأسرة. وليس من المعقول أن نضحي بها في سبيل الحياة لجنين لم تستقل حياته، ولم يحصل على شيء من الحقوق والواجبات.

เพราะเนื่องจากว่าแม่นั้น เป็นที่มาของเด็ก และชีวิตของนางก็มีอย่างแน่นอนอยู่แล้ว นางก็มีส่วนที่เป็นเอกเทศในการดำรงชีวิตอยู่ นางมีสิทธิ์ และก็มีหน้าที่สำหรับนาง และนางนั้น หลังจากตรงนี้และตรงนั้น นางจะกลายเป็นเสาหลักของครอบครัว และมันเป็นสิ่งที่ไม่กินด้วยสติปัญญา(ไม่สมเหตุสมผล)ในการที่พวกเราจะเอานางเป็นที่สังเวยในวิถีทางที่จะรักษาไว้ซึ่งชีวิตขิงเด็กที่ยังไม่มีชีวิตแยกออกมาอย่างเอกเทศ และยังไม่มีสิทธิ หน้าที่ไดๆเกิดขึ้นกับเด็กนั้นเลย

وقال الإمام الغزالي يفرق بين منع الحمل وإسقاطه: "وليس هذا -أي: منع الحمل- كالإجهاض والوأد؛

ท่านอีหม่ามฆอซาลียฺได้แยกระหว่างการห้ามมิให้มีครรภ์กับการทำแท้งว่า : อั้นนี้นะ(การห้ามมิให้มีครรภ์)นั้น ไม่เหมือนกับการทำแท้งและการฝั่งทั้งเป็น

لأن جناية على موجود حاصل. والوجود له مراتب. وأول مراتب الوجود أن تقع النطفة في الرحم وتختلط بماء المرأة، وتستعد لقبول الحياة وإفساد ذلك جناية،

เพราะเนื่องจากว่าการทำแท้งนั้น เป็นการก่ออาชญากรรมกับสิ่งที่มีขึ้นแล้ว เกิดขึ้นแล้ว และการมีอยู่สำหรับสิ่งนั้น มันก็มีขั้นของมัน ขั้นแรกๆของการมีอยู่นั้น ก็คือการที่อสุจิ มันตกไปอยู่ในมดลูก และก็ผสมกับน้ำของหญิงสาว และก็พร้อมสำหรับการที่จะส่อรับการมีชีวิต และการทำลายสิ่งดังกล่าวนั้น ถือว่าเป็นการก่อาชญากรรม

فإن صارت نطفة مغلقة، كانت الجناية أفحش، وإن نفخ فيه الروح واستوت الخلقة، ازدادت الجناية تفاحشا، ومنتهى التفاحش في الجناية هي بعد الانفصال حيا".

ฉะนั้นถ้าหากว่านุตฟะนั้น กลายเป็นก้อนเลือดแล้ว ดังนั้นการก่ออาชญากรรมนั้น ก็จะเลวทรามยิ่งกว่า และถ้าหากมีการเป่าวิญญาณแล้ว และก็มีรูปมีร่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ดังนั้นการก่ออาชญากรรมนั้น ก็จะเลวทรามยิ่งขึ้นไปอีก และความเลวทรามที่สุดในการก่ออาชญากรรมอันนี้ การคือที่เด็กแยกออกมา
แล้ว(คลอดออกมาแล้ว)ในสภาพที่มีชีวิตอยู่ แล้วก็ฆ่าเด็ก

อ้างอิง : หนังสือ ฮาลาลและฮารอมในอิสลาม หน้า 178-179
โรงพิมพ์ : มักตะบะตฺ วะฮฺบะตฺ
ผู้แต่ง : ด็อกเตอร์ ยูสูฟ ก็อรฎอวียฺ

 

GoogleTagged