ผู้เขียน หัวข้อ: หนังสือบิดายะตุลฮิดายะฮ์(การเริ่มได้รับทางนำ)ของอิมามอัลฆอซาลีย์(ร.ฏ.)  (อ่าน 28898 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ As-Zaleek

  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 804
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +33
    • ดูรายละเอียด
 :salam:

ญะซากัลลอฮุค้อยร็อน..สำหรับคุณ amad 254 ที่แปลมาให้พวกเราอ่านกันอย่างต่อเนื่องคร้าบ... mycool:

      เมื่อตะวันเริ่มออก(ปรากฏแสง)ประมาณ 1 หอก  คือตั้งแต่เมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นสูงเท่าความสูงของหอก(ตามสายตา)

(ในตักรีรอตสะดีดะฮฺ เขียนว่า เท่ากับ16 นะที ก็คือนับตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นไปอีก16นะที
ในตักรีรอตสะดีดะฮฺเขียนอีกว่า หอกนั้น เท่ากับ 4ขั้น  1ขั้น    เท่ากับ 4นที (ที่มาจากท่านบาชีรในกระทู้ละหมาดอีด) )

ไปอ่านเจอมาอีกกระทู้นึงเกี่ยวกับละหมาดุฮา...ซึ๋งบังอัซฮะรีย์ได้ให้ความหมายตามหลักวิชาฟะลักว่า...

ผมได้อ่านหนังสือ  อัลกิฟายะฮ์  ของท่านอิมามอัลฟากิฮีย์  ซึ่งอธิบายหนังสือ บิดายะตุลฮิดายะฮ์  ของท่านอิมามฮุจญะตุลอิสลาม  อัลฆ่อซาลี   และอธิบายเสริมโดย  ด็อกเตอร์  ชัยค์  มุฮัมมัด ยาซิร บิน มุฮัมมัด ค็อยรฺ  อัลกุฏมานีย์

ซึ่งท่าน เชคด็อกเตอร์  อัลกุฎมานีย์  ได้กล่าวว่า "ข้าพเจ้าได้ถามซัยยิดี  อัลฮะบีบ อุมัร บิน มุฮัมมัด บิน ซาลิม  บิน ฮะฟีซฺ  ที่ดารุลมุสฎอฟา  ณ ตะรีม จากเวลาละหมาดอิชร็อกและละหมาดดุฮา (ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นขนาดครึ่งหอก)  ท่านอัลฮะบีบอุมัรได้กล่าวว่า  "คือช่วงเวลา 16 นาที(หลังจากดวงอาทิตย์ขึ้น)"    คือ 4 องศาตามหลักดาราศาสตร์อิสลาม  เพราะ 1 องศาเท่ากับ 4 นาที

http://www.sunnahstudents.com/forum/index.php/topic,2541.0.html
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พ.ค. 16, 2011, 09:59 AM โดย As-Zaleek »
الأيام تمضى       والعمر يزيد         ولكن الحب بالقلب أكيد

ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
อัสลามุอลัยกุมครับ

فإذا أفرغت من ذلك كله ، وفرغت من إصلاح نفسك ظاهرا وباطنا ، وفضل شيء من أوقاتك ، فلا بأس أن تشتغل بعلم المذهب في الفقه لتعرف به الفروع النادرة في العبادات وطريق التوسط بين الخلق في الخصومات عند انكبابهم على الشهوات.. فذلك أيضا بعد الفراغ من هذه المهمات من جملة فروض الكفايات.

เมื่อท่านได้เสร็จจากการหาความรู้ที่ให้ประโยชน์ และ เสร็จจากการเตรียมตัวเตรียมใจให้ดี(อยู่ในความดี)ทั้งภายนอก(คือการปฎิบัติ)และภายใน(การคิดหรือรำลึกถึงพระผู้เป็นเจ้าและคิดถึงความตาย)   และ จงหาความประเสริฐในเวลา(ที่เหลือ)ของท่าน  (และไม่เป็นห้ามแต่อย่างใด) เมื่อท่านจะแสวงหาความรู้ ด้วยกับความรู้ด้านมัซฮับ ใน วิชาฟิกฮ์ เพื่อเรียนรู้สิ่งที่แตกแขนงออกมา(ข้อสงสัย)จากสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก ในการปฎิบัติอิบาดะห์ต่างๆ และเรียนรู้ทางสายกลางระหว่าง (ข้อแตกต่างปลีกย่อยของบรรดาผู้รู้) ต่างๆ ในขณะที่เขามีความสามารถในการโต้แย้งกัน ตามอารมณ์ความต้องการของเขา(ผู้รู้)  ดังนั้นสิ่งนี้(ปัญหาข้อแตกต่างต่างๆในอิบาดะห์)ก็เป็นส่วนหลังจากท่านได้เสร็จจากการเรียนรู้ฟัรดูกิฟายะห์ต่างๆ


فإن دعتك نفسك إلى ترك ما ذكرناه من الأوراد والأذكار استثقالا لذلك ، فاعلم أن الشيطان اللعين قد دس في قلبك الداء الدفين ، وهو حب المال والجاه ، فإياك أن تغتر به فتكون ضحكة له فيهلكك ثم يسخر منك.

หากว่าท่านได้ทำตามความต้องการของท่านด้วยกับการทิ้ง การวิริด และ การซิเกร(รำลึก) (ที่ข้าพเจ้า อีหม่ามฆอซาลี รดได้กล่าวไว้ )และรู้สึกลำบากที่จะรักษา(การวิริดและซิเกร)ไว้  ท่านจงรู้เถอะว่า ซัยตอนได้ล่อลวงตัวท่านไว้แล้ว มัน(ซัยตอน)ได้ล่อลวงในหัวใจท่านถึง(การที่จะได้หรือไคร่ครวญถึง) การมีบารมี และทรัพสมบัติต่างๆ  ท่านจงตั้งสติเพื่อให้รู้ ถึงการล่อลวงของซัยตอน (เพื่อหลีกเลี่ยงหรือป้องกัน)  หากว่าท่านนั้นยินยอมชอบใจไปกับมัน ท่านจะพบกับความหายนะ หลังจากนั้นมัน(ซัยตอน)จะเยาะเย้ยท่าน(เมื่อท่านประสบกับความหายนะเหมือนกับมัน)

فإن جربت نفسك مدة في الأوراد والعبارات فكانت لا تستثقلها كسلا عنها ، لكن ظهرت رغبتك في تحصيل العلم النافع ولم ترد به إلا وجه الله تعالى والدار الآخرة ، فذلك أفضل من نوافل العبادات مهما صحت النية ، ولكن الشأن في صحة النية ، فإن لم تصح النية فهو معدن غرور الجهال ، ومزلة أقدام الرجال.

เมื่อใดก็ตามท่านได้ประสบกับบททดสอบในการ อามาลวิริดและซิเกร และอิบาดะห์ (ที่อีหม่ามฆอซาลี รด ได้กล่าวไว้ในกีตาบ) และท่านได้รู้สึกว่าไม่ได้ยากลำบากในการปฎิบัติมัน(วิริด ซิเกร อิบาดะห์) และรู้สึกขี้เกียจ ที่จะรักษาไว้ (อิบาดะห์  วิริด ซิเกร) และได้รู้สึกว่า รักและชอบในการที่จะปฎิบัติ  และปรารถนาที่จะศึกษาวิชาที่ให้ประโยชน์ และไม่ได้ศึกษาเพื่ออื่นใดยกเว้นเพื่อความพึงพอใจของพระองค์อัลเลาะห์(ซบ) และเพื่อบ้าน (เสบียง)ในวัน อาคิเราะห์ เท่านั้น  ดังนั้นสิ่งนี้(การเรียนรู้ความที่มีประโยชน์)ย่อมประเสริฐกว่าการทำอิบาดะห์ สุนัต หากว่าท่าน อิคลาศ (บริสุทธ์)ใจในการเหนียต (การตั้งใจ)  แต่หากว่าท่านไม่อิคลาศ(บริสุทธิ์)ใจในการเหนียต ตรงนี้แหละที่เป็นสิ่งที่จะถูกล่อลวงโดยผุ้ที่ไม่รู้(โง่เขลา) และตรงนี้อีกเช่นกันจะเป็นที่ ลื่นไหล(ไม่มั่นคงในจุดยืนของศาสนา)ของผู้รู้ต่างๆ(ที่ชั่ว)

الحالة الثانية: ألا تقدر على تحصيل العلم النافع في الدين ، ولكن تشتغل بوظائف العبادات من الذكر والتسبيح والقراءة والصلاة ، فذلك من درجات العابدين وسير الصالحين وتكون أيضا بذلك من الفائزين.

สถานะที่ 2  หากว่าท่านไม่สามารถที่(เรียนรู้)รับรู้ความรู้ที่ให้ประโยชน์ ในศาสนา แต่ว่า ท่านสามารถปฎิบัติอิบาดะห์ เช่น การซิเกร และ ตัซเบียะห์  และ อ่านกุรอ่าน และละหมาด หากว่าสิ่งนีัก็คือ ดารอญัต(ตำแหน่ง) อาบีดีน  (คนอาบิด คือคนที่ขยันทำอิบาดะห์) ในการดำเนินชีวิตของผู้ที่ดี (คนซอและห์) ด้วยกับ สิ่งนี้(คนอาบิดได้ปฎิบัติ)ก็คือผู้ที่ได้ความสำเร็จ(ในวันอาคิเราะห์)ด้วยเหมือนกัน


الحالة الثالثة: أن تشتغل بما يصل منه خير إلى المسلمين ، ويدخل به سرور على قلوب المؤمنين ، أو تتيسر به الأعمال الصالحة للصالحين: كخدمة الفقهاء والصوفية وأهل الدين والتردد في أشغالهم ، والسعي في إطعام الفقراء والمساكين ، والتردد مثلا على المرضى بالعيادة ، وعلى الجنائز بالتشييع ، فكل ذلك أفضل من النوافل ، فإن هذه عبادات وفيها رفق للمسلمين.


สถานะที่ 3 หากว่าท่านได้ปฎิบัติสิ่งใดๆที่เป็นสิ่งดีๆแก่ผู้คนมุสลิมทั้งหลาย และได้รับความอิ่มเอมใจแก่ผู้คนที่อีหม่าน หรือ ได้ช่วยเหลือผู้ที่ดี(คนซอและห์)ในกิจการงานต่างๆ(ของเขา) เช่น การคอยให้ความสะดวกต่างๆแก่เหล่าผู้นำของผู้รู้ แก่ อะหฺลีซูฟี และ ผู้สนใจในศาสนา และ คอยช่วยเหลือซ้ำๆ ในการงานหรือ ให้ความสะดวกต่างๆแก่เขาเหล่านั้น  และ ได้พยายามในการบริจาคอาหารแก่ผู้ขัดสน และผู้ขาดแคลน หรือ การไปเยี่ยมผู้ป่วย หรือการส่งมาญัต(ผู้ตายไปกูโบร์)  และทุกการกระทำที่ได้กล่าวนั้น ย่อมประเสริฐกว่า การทำอิบาดะห์เฉพาะสุนัต  และนี้(ที่ได้กล่าวมา)ก็คือ อิบาดะห์อย่างหนึ่งเช่นกัน(ในหลายๆอิบาดะห์) ซึ่งอยู่ในสภาพ(อิบาดะห์)การช่วยเหลือผู้อื่น


الحالة الرابعة: ألا تقوى على ذلك ، فاشتغل بحاجاتك اكتسابا على نفسك أو على عيالك ، وقد سلم المسلمون منك وآمنوا من لسانك ويدك ، وسلم لك دينك إذا لم ترتكب معصية ، فتنال بذلك درجة أصحاب اليمين إن لم تكن من أهل الترقي إلى مقامات السابقين.


สถานะที่  4   หากว่าท่าน ไม่สามารถปฎิบัติได้ในสิ่งที่กล่าวมาแล้วนั้น(สถานะที่ 1 ถึง 3) ท่านจงแสวงหาความต้องการของท่าน พยายามในการหา(นาฟาเกาะห์) ให้แก่ตัวท่านเองหรือ ครอบครัวท่าน และเหล่ามุสลีมูนทั้งหลายปลอดภัยจากท่าน ปลอดภัยจากลิ้นและมือของท่าน และศาสนาของท่านก็ปลอดภัย เมื่อท่านไม่เกินเลยไปในการทำมัวะซิยะห์ (การทำชั่ว การฝ่าฝืน)  หากว่า ด้วยกับสิ่งที่่กล่าวนี้ ท่านจะได้รับ ดารอญัต(ตำแหน่ง) อัซฮาบุ้ลยามีน (ผู้ได้รับการงานด้วยมือขวา) แต่ไม่ถึงขั้น มะกอม ดารอญัต (ตำแหน่ง ) อัซซาบีกีน


วัสลามครับ

ออฟไลน์ yunus

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 166
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด

ออฟไลน์ hiddenmin

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2453
  • เพศ: ชาย
  • 404 not found
  • Respect: +76
    • ดูรายละเอียด
    • Ikhlas Studio

ได้ข่าวมาว่าบัง amad 254 เพิ่งหายจากไม่สบาย

ออฟไลน์ al-firdaus~*

  • ทีมงานหลังบอร์ด (-_-''')
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 5015
  • เพศ: หญิง
  • 可爱
  • Respect: +161
    • ดูรายละเอียด
ขออัลเลาะฮ์ทรงคุ้มครองและเมตตาบัง amad 254 ให้หายป่วยในเร็ววันนะคะ อามีน

ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
ขออัลเลาะฮ์ทรงคุ้มครองและเมตตาบัง amad 254 ให้หายป่วยในเร็ววันนะคะ อามีน

  ญะซากัลลอฮ์  ครับ กะห์ ฟิรเดาร์ แต่ เรียกบังดูแก่นะครับ  ผมว่า อายุผมยังอ่อนกว่ากะห์ หลายๆ ปีนะครับ  อิอิ    happy2: hehe



ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
อัสลามุอลัยกุมครับ
فهذا أقل الدرجات في مقامات الدين وما بعد هذا فهو من مراتع الشياطين ، وذلك بأن تشتغل ـ والعياذ بالله ـ بما يهدم دينك ، أو تؤذي به عبدا من عباد الله تعالى فهذه رتبة الهالكين ، فإياك أن تكون في هذه الطبقة.

واعلم أن العبد في حق دينه على ثلاث درجات:

إما سالم: وهو المقتصر على أداء الفرائض وترك المعاصي.

أو رابح: وهو المتطوع بالقربات والنوافل.

أو خاسر: وهو المقصر عن اللوازم.

فإن لم تقدر أن تكون رابحا فاجتهد أن تكون سالما ، وإياك ثم إياك أن تكون خاسرا.



والعبد في حق سائر العباد له ثلاث درجات:

الأولى: أن ينزل في حقهم منزلة الكرام البررة من الملائكة ، وهو أن يسعى في أغراضهم رفقا بهم وإدخالا للسرور على قلوبهم.

الثانية: أن ينزل في حقهم منزلة البهائم والجمادات ، فلا ينالهم خيره ، ولكن عنهم شره.

الثالثة: أن ينزل في حقهم منزلة العقارب والحيات والسباع الضاريات ، لا يرجى خيره ، ويتقى شره.

فإن لم تقدر على أن تلتحق بأفق الملائكة ، فاحذر أن تنزل عن درجة البهائم والجمادات إلى درجة العقارب والحيات والسباع الضاريات.

فإن رضيت لنفسك النزول من أعلى عليين ، فلا ترض لها بالهوى إلى أسفل سافلين فلعلك تنجو كفافا لا لك ولا عليك.

فعليك في بياض نهارك ألا تشتغل إلا بما ينفعك في معادك أو معاشك الذي لا تستغنى عن الاستعانة به على معادك.

فإن عجزت عن القيام بحق دينك مع مخالطة الناس ، وكنت لا تسلم فالعزلة أولى فعليك بها ففيها النجاة والسلامة.

فإن كانت الوساوس في العزلة تجاذبك إلى مالا يرضى الله تعالى ولم تقدر على قمعها بوظائف العبادات ، فعليك بالنوم فهو أحسن أحوالك وأحوالنا ، إذ عجزنا عن الغنيمة ورضينا بالسلامة في الهزيمة. ، فما أخس حال من سلامة دينه في تعطيل حياته إذ النوم أخو الموت ، وهو تعطيل الحياة والتحاق بالجمادات.









فهذا أقل الدرجات في مقامات الدين وما بعد هذا فهو من مراتع الشياطين ، وذلك بأن تشتغل ـ والعياذ بالله ـ بما يهدم دينك ، أو تؤذي به عبدا من عباد الله تعالى فهذه رتبة الهالكين ، فإياك أن تكون في هذه الطبقة.


 หากว่า ทั้ง 4 สถานะนั้น คือ ดารอญัต(ตำแหน่ง)ในศาสนาท่าน อื่นๆจากนี้ ก็คือ ที่ๆซัยตอนคอยล่อลวงพวกท่าน  และสิ่งนี้ หากท่านได้กระทำในสิ่ง(ที่นอกเหนือจาก 4 สถานะนี้) คือสิ่งที่จะทำลายศาสนาของท่าน  วัลอิยาซุบิ้ลลาฮฺ  หรือ การทำร้ายจิตใจบ่าวผู้ภักดี จากบ่าวของพระองค์อัลเลาะห์(ซบ) หากว่าสิ่งนี้คือการกระทำที่ เสียหาย และท่านจงแก้ใขให้เหมาะสม(ในสิ่งที่ท่านคิดจะกระทำหรือกระทำไปแล้ว)
واعلم أن العبد في حق دينه على ثلاث درجات:

และท่านจงรู้ว่า  แท้จริงสิทธิของ บ่าวที่อยู่ในศาสนาที่แท้จริงนั้น มีอยู่ 3 ดาราญัต

إما سالم: وهو المقتصر على أداء الفرائض وترك المعاصي.

1   ซาลิม คือ ผู้ที่ปลอดภัย  คือผู้ที่ปฎิบัติตามคำสั่งใช้ เช่น ฟัรดู และ ละทิ้งในคำสั่งห้าม เช่น การละทิ้ง มัวะซิยัต ต่่างๆ

أو رابح: وهو المتطوع بالقربات والنوافل.
2   รอบีห์  คือ ผู้ที่กำไร คือผู้ที่ตามคำสั่งใช้ เช่น ฟัรดู และ ละทิ้งในคำสั่งห้าม เช่น การละทิ้ง มัวะซิยัต ต่่างๆและเพิ่มเติมในการปฎิบัติ สิ่งที่ เป็นสุนัต ต่างๆ และการปฎิบัติ ที่เป็นการภักดี ต่อพระองค์อัลเลาะห์(ซบ)


أو خاسر: وهو المقصر عن اللوازم.

3   คอซีร   คือ ผู้ที่ขาดทุน  คือ ผู้ที่บกพร่อง จากสิ่งที่เป็นฟัรดู (หรือละเลย)

فإن لم تقدر أن تكون رابحا فاجتهد أن تكون سالما ، وإياك ثم إياك أن تكون خاسرا.

หากว่าท่าน ไม่สามารถจะปฎิบัติเช่นผู้ที่อยู่ในตำแหน่ง  รอบีห์ ได้  หากว่าท่านจงพยายามที่จะปฎิบัติดังเช่นผู้ที่อยู่ในตำแหน่ง  ซาลิม และอย่าได้ปฎิบัติ ดังเช่นผู้ที่อยู่ในตำแหน่ง  คอซีร 

والعبد في حق سائر العباد له ثلاث درجات:

และผู้ที่เป็นบ่าว  สิ่งที่เป็นสิทธิที่อยู่ระหว่างกันกับผู้ทีเป็นบ่าวคนอื่นๆ นั้นมีอยู่ 3 ตำแหน่ง


الأولى: أن ينزل في حقهم منزلة الكرام البررة من الملائكة ، وهو أن يسعى في أغراضهم رفقا بهم وإدخالا للسرور على قلوبهم.

1.  บรรดาผู้ที่มีลักษณะคล้ายมาลาอิกะห์   ที่มีเกียรติ และชอบทำดี  (คือผู้ที่มีความพึงพอใจที่จะกระทำดีต่อผู้อื่นอยู่เสมอ) คือผู้ที่พยายามในการตอบสนองความต้องการแก่ผู้อื่น(ในด้านดี)ด้วยความรักที่เต็มเปี่ยมและความพึงพอใจที่จะกระทำด้วยใจ และก็คงอยู่กับการที่จะทำให้ผู้อื่น(ที่ถูกช่วยเหลือ)จนเขาได้รับความสุขใจ(ในการช่วยเหลือ โดยไม่ได้หวังผลตอบแทนใดๆทั้งสิ้น นอกจากความเมตตา และความพึงพอพระทัยของพระองค์อัลเลาะห์  ซบ ที่มีต่อเขา(ผู้ช่วยเหลือ)เท่านั้น)


الثانية: أن ينزل في حقهم منزلة البهائم والجمادات ، فلا ينالهم خيره ، ولكن عنهم شره.

2.  บรรดาผู้ที่มีลักษณะ  คล้าย สัตว์ที่เชื่อง  หรือ สัตว์ที่ไม่ดุร้าย   คือ บรรดาผู้ที่ไม่ได้ให้ประโยชน์(ชอบช่วยเหลือ)แก่ผู้ใด และก็ไม่ได้ทำให้ผู้ใดได้รับความเดือดร้อนจากเขา(ไม่ว่าจะเป็นทางจิตใจหรือร่างกาย)

الثالثة: أن ينزل في حقهم منزلة العقارب والحيات والسباع الضاريات ، لا يرجى خيره ، ويتقى شره.

3.  บรรดาผู้ที่มีลักษณะ คล้ายสัตว์ดุร้ายที่สามารถทำอันตรายแก่ผู้อื่นได้ เช่น แมลงป่อง  งู    คือ บรรดาผู้ที่  ผู้คนอื่นๆไม่มีความหวังในความดี(ว่าไม่มีโอกาสได้รับความดีหรือความช่วยเหลือใดๆจากผู้นี้) และ   เกรงกลัวในความชั่วที่เขาจะกระทำ (ต่อผู้อื่น)

فإن لم تقدر على أن تلتحق بأفق الملائكة ، فاحذر أن تنزل عن درجة البهائم والجمادات إلى درجة العقارب والحيات والسباع الضاريات.

ดังนั้น หากว่าท่านไม่สามารถ ที่จะอยู่ใน บรรดาผู้ที่มีลักษณะ คล้าย มลาอิกะห์  ก็จงรักษา ต่ำแหน่งบรรดาผู้ที่ลักษณะสัตว์ที่เชื่องไม่ดุร้าย   อย่าได้ลงไปถึงต่ำแหน่งสัตว์ดุร้าย  ที่จะนำไปสู่การทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน(ไม่ว่าทางใจหรือกาย)

فإن رضيت لنفسك النزول من أعلى عليين ، فلا ترض لها بالهوى إلى أسفل سافلين فلعلك تنجو كفافا لا لك ولا عليك.

 หากว่าท่าน พึงพอใจในตัวท่านเองที่จะอยู่ในตำแหน่งที่ใต้  อะห์ลา อิลลียีน (ต่ำแหน่งที่สูงที่สุดในทุกๆต่ำแหน่ง)  ดังนั้นท่านจง อดทนหรือไม่ยอมรับในตัวของท่าน (ที่จะอยู่)ในต่ำแหน่ง  อัซฟัล ซาฟีลีน (ต่ำแหน่งที่ต่ำที่สุด ในทุกๆต่ำแหน่ง) และท่านจงพยายามเพื่อให้ได้รับความปลอดภัย(จากต่ำแหน่งนี้)และได้รับสิ่งที่ดีที่สุด  หากท่านไม่สามารถกระทำสิ่งใดๆที่จะเป็นผลดีได้แล้ว หากว่าท่านก็อย่าได้กระทำสิ่งต่างๆที่เป็นผลเสียเลย

فعليك في بياض نهارك ألا تشتغل إلا بما ينفعك في معادك أو معاشك الذي لا تستغنى عن الاستعانة به على معادك.

ในตลอดช่วงวัน(ตลอดวัน) ท่านอย่าได้กระสิ่งใดยกเว้น การกระทำที่ได้รับผลประโยชน์ในอาคิเราะห์ หรือ (อย่างน้อย)ก็ให้ผลประโยชน์ในการใช้ชีวิตอยู่ในโลกดุนยานี้ (ที่ท่านไม่สามารถที่จะหนีมันไปได้ในการใช้ชีวิตในโลกดุนยา) และ(สมควร)กระทำและเอาใจใส่(ในสิ่งที่เป็นผลประโยชน์)ในโลกดุนยานี้เพื่อเป็นผลบุญในโลกอาคิเราะห์ ด้วย

فإن عجزت عن القيام بحق دينك مع مخالطة الناس ، وكنت لا تسلم فالعزلة أولى فعليك بها ففيها النجاة والسلامة.

หากว่าท่่านอ่อนแอในการที่จะรักษาการปฎิบัติในสิ่งที่เป็นวายิบ(ไว้ตลอด) ในช่วง พบปะในหมู่เพื่อน ๆพี่น้อง ทั้งหลาย หรือทางสังคม หรือ ไม่สามารถจะยับยั้งจากการฝ่าฝืน (มัวะซิยะห์) ได้ ท่างจงปลีกตัวเองออกจากผู้คน(ในสังคม) และสิ่งนี้ จะเป็นการดีกว่าสำหรับตัวท่าน 

فإن كانت الوساوس في العزلة تجاذبك إلى مالا يرضى الله تعالى ولم تقدر على قمعها بوظائف العبادات ، فعليك بالنوم فهو أحسن أحوالك وأحوالنا ، إذ عجزنا عن الغنيمة ورضينا بالسلامة في الهزيمة. ، فما أخس حال من سلامة دينه في تعطيل حياته إذ النوم أخو الموت ، وهو تعطيل الحياة والتحاق بالجمادات.
และเมื่อไหร่ก็ตามที่เกิดความสงสัย ผ่านเข้ามาในจิตใจท่าน เพื่อก่อให้เกิดการกระทำใดๆที่ไม่เป็นที่พอใจ(ไม่เป็นไปตามคำสั่ง)ของ พระองค์อัลเลาะห์(ซบ)   และท่านไม่สามารถที่จะป้องกัน ด้วยกันการปฎิบัติ อิบาดะห์ ต่างๆ  ดังนั้น ท่านป้องกันการนี้ด้วยการนอน เป็นการดีกว่าในสภาพการณ์นี้บนตัวท่าน และศาสนา  เมื่อเราไม่สามารถ(ปฎิบัติในสิ่งที่)ได้รับผลกำไร จงพอใจในการที่อยู่ในความยากลำบาก ทุกข์ยาก    ดังนั้น ท่านจงทำให้เบาบาง(ในการทำร้ายศาสนา)เพื่อศาสนาของท่านปลอดภัย ด้วยการไม่กระทำใดๆ ด้วยการนอน เมื่อการนั้นเป็นพี่น้องของความตาย    คือ การปลดตัวเองจากความเป็น (ชั่วคราวด้วยการนอน) ด้วยการทำตัวให้แข็ง(ไม่ขยับเขยื้อนร่างกายใดๆ คือนอนหลับ) 


วัสลามครับ

ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
อัสลามุอลัยกุมครับ 


آداب الاستعداد لسائر الصلوات                                                         

                             


ينبغي أن تستعد لصلاة الظهر قبل الزوال ، فتقدم القيلولة إن كان بك قيام في الليل أو سهر في الخير ، فإن فيها معونة على قيام الليل كما أن في السحور معونة على
صيام النهار ، والقيلولة من غير قيام بالليل كالسحور من غير صيام بالنهار.

فإذا قِلت فاجتهد أن تستيقظ قبل الزوال ، وتتوضأ وتحضر المسجد وتصلي تحية المسجد وتنتظر المؤذن فتجيبه ، ثم تقوم فتصلي أربع ركعات عقب الزوال ، كان رسول الله صلى الله عليه وسلم يطوّلهن ويقول: (هذا وقت تفتح فيه أبواب السماء فأحب أن يرفع لي فيه عمل صالح). وهذه الأربع قبل الظهر سنة مؤكدة ففي الخبر: (من صلاهن فأحسن ركوعهن وسجودهن صلى معه سبعون ألف ملك يستغفرون له إلى الليل).

ثم صل الفرض مع الإمام ، ثم صل بعد الفرض ركعتين فهما من الرواتب الثابتة.

ولا تشتغل إلى العصر إلا بتعلم علم ، أو إعانة مسلم ، أو قراءة قرآن ، أو سعي في معاش لتستعين به على دينك.

ثم صل أربع ركعات قبل العصر فهي سنة مؤكدة ، فقد قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: (رحم الله امرأ صلى أربعا قبل العصر) فاجتهد أن ينالك دعاؤه صلى الله عليه وسلم    .


.............                                                                                           
 

                     
ْ                                 آداب الاستعداد لسائر الصلوات                                   

                                 มารยาท (ในการ) เตรียมตัวที่จะละหมาด ( ดุฮ์ริ)
         
          ที่ดี (ในการเตรียมตัว) นั้น ท่านจงเตรียมความพร้อมที่จะละหมาด ดุฮ์ริ ก่อน เวลาจะหายไป( ตะวันคล้อย  เข้าเวลาซุร์ริ) หากว่าท่านจง นอน กีลูละห์  (นอนหรือพักผ่อน สักพักก่อนตะวันคล้อย) หากโดยปกติท่านจะอามาล ( สุนัตตะฮัจยุด เป็นประจำ) ในช่วงกลางคืนหรือท่านจะปฎิบัติในสิ่งดีๆในช่วงเวลากลางวัน  แท้จริงนั้นการ(นอน)พักผ่อน(ก่อน ซุฮ์รินั้น เป็นการผ่อนคลาย)ในการที่ท่านจะรักษาเวลากลางคืน (เพื่ออามาลในสิ่งดี) เสมือน การกินข้าว ซูโฮรเป็นการพักผ่อน เพื่อการถือศีลอด ในช่วงเวลากลางวัน หากว่า การนอน กีลูละห  นั้นไม่ได้เพื่อ(พักผ่อน)เพื่ออามาลในเวลากลางคืน หรือเท่ากับ การกินข้าวซูโฮรแต่ไม่ได้ถือศีลอดในเวลากลางวัน (ก็ไม่เป็นไร)



فإذا قِلت فاجتهد أن تستيقظ قبل الزوال ، وتتوضأ وتحضر المسجد وتصلي تحية المسجد وتنتظر المؤذن فتجيبه ، ثم تقوم فتصلي أربع ركعات عقب الزوال ، كان رسول الله صلى الله عليه وسلم يطوّلهن ويقول: (هذا وقت تفتح فيه أبواب السماء فأحب أن يرفع لي فيه عمل صالح). وهذه الأربع قبل الظهر سنة مؤكدة ففي الخبر: (من صلاهن فأحسن ركوعهن وسجودهن صلى معه سبعون ألف ملك يستغفرون له إلى الليل).
 



     เมื่อท่่านได้นอน กีลูละห์ นั้น ท่านจงพยายามตื่นก่อนเวลาจะหายไป(ตะวันคล้อย) และจงไปเอาน้ำละหมาดและไปมัสยิด และละหมาด สุนัต ตะฮียะตุ้ลมัสยิด และรอจนกว่า จะอาซาน ซุฮ์ริ  และเมื่อท่านได้ยินเสียงอาซาน ท่านจงรับอาซาน(ด้วยกับคำกล่าวรับอาซานที่ผ่านมาในบทที่แล้ว) หลังจากนั้นท่านจงละหมาด สุนัต ก็อบลียะห์ ซุฮ์ริ 4 ร่อกาอัต (ด้วยกับ 2 สลามหรือ 1สลาม) และ

     ท่านร่อซูล(ซล)  ได้ละหมาดเป็นเวลานาน และท่านได้กล่าวไว้ว่า
(هذا وقت تفتح فيه أبواب السماء فأحب أن يرفع لي فيه عمل صالح)
    ความว่า   ช่วงเวลานี้เป็นการเปิดประตู หากว่าพวกท่านสนใจที่จะทำให้อามาลที่ดีได้ขึ้นสู่ชั้นฟ้า
    ในช่วงเวลานี้ และ 4 ร่อกาอัตในเวลานี้(สุนัตก็อบลียะห์ ซุฮ์ริ)  ฮูก่มคือ สุนัต มูอักกัต 
       ที่มีกล่าวถึงความประเสริฐใน ฮาดิษ ท่านนบี(ซล)  ว่า

(من صلاهن فأحسن ركوعهن وسجودهن صلى معه سبعون ألف ملك يستغفرون له إلى الليل).
 ความว่า  ใครก็ตามที่อามาล (สุนัต 4 ร่อกาอัต)ก่อนซุฮ์ริ  ในสถานภาพที่ ดี ในการ รูกัวะ และซูหยูด  นั้น เสมือนท่านได้ละหมาดพร้อมกับ มลาอิกะห์ 70000 ท่าน และบรรดามลาอิกะห์ทั้งหลายได้ขออภัยโทษแก่ท่าน ตลอดจนถึงเวลากลางคีน





ثم صل الفرض مع الإمام ، ثم صل بعد الفرض ركعتين فهما من الرواتب الثابتة.

  หลังจากนั้น ท่านจงละหมาด ซุฮ์ริ พร้อมๆกับอีหม่าม (เป็น ยามาอะห์) และจงละหมาดหลังจากละหมาด ซุฮ์ริ สุนัต บะห์ดียะห์ สุนัตหลังฟัรดู ซุฮ์ริ 2ร่อกาอัต ที่กล่าวมา(สุนัต)ทั้งสองนั้น เป็น สุนัตร่อวาติบ(คู่กับฟัรดู)


ولا تشتغل إلى العصر إلا بتعلم علم ، أو إعانة مسلم ، أو قراءة قرآن ، أو سعي في معاش لتستعين به على دينك.

 และท่านได้วุ่นวายในการงานต่างๆหลังจากนั้น จนกระทั่งเข้าเวลา อัศริ โดยเริ่มจากการเรียนรู้วิชาความรู้(ที่มีประโยชน์) หรือช่วยเหลือ ผู้อื่น หรือ อ่านอัลกุรอ่าน หรือ หาริสกีที่จำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน  เพื่อเป็นกำลังในการทำอามาลอิบาดะห์  ของท่าน


ثم صل أربع ركعات قبل العصر فهي سنة مؤكدة ، فقد قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: (رحم الله امرأ صلى أربعا قبل العصر) فاجتهد أن ينالك دعاؤه صلى الله عليه وسلم    .

( ก่อนที่ละหมาด ฟัรดู อัศริ) ท่านจงละหมาด สุนัต ก็อบลียะห์  สุนัตก่อนอัศริ  4 ร่อกาอัต( ด้วยกับ 2 สลาม หรือ 1 สลาม) และการละหมาดสุนัตนี้ก็คือสุนัต มุอักกัด  (ตามทัศนะนักฟิกฮฺ  4 ร่อกาอัต ก่อนอัศริ นั้นเป็นสุนัต เฉยๆ ไม่ถึงขั้นมุอักกัต)

      และฮาดิษท่านนบี(ซล)     ได้กล่าวว่า   (رحم الله امرأ صلى أربعا قبل العصر)
ความหมายว่า  พระองค์อัลเลาะห์(ซบ) ได้ให้ความเมตตาแก่ผู้ที่ละหมาดสี่ร่อกาอัต ก่อนละหมาด อัศริ (รายงานโดย อบูดาวูดและติรมีซี )


         หากว่า  ท่านนั้นได้กระทำดังที่กล่าวนั้น  ท่านจะได้เป็นส่วนหนึ่งจากการขอดุอาของท่านร่อซูล (ซล)( เพื่อได้รับความเมตตาของพระองค์อัลเลาะห์(ซบ) )


วัสลามครับ

ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
อัสลามุอลัยกุมครับ


ولا تشتغل بعد العصر إلا بمثل ما سبق قبله ، ولا ينبغي أن تكون أوقاتك مهملة ، فتشتغل في كل وقت بما اتفق كيف اتفق ، بل ينبغي أن تحاسب نفسك وترتب أورادك في ليلك ونهارك ، وتعيّن لكل وقت شغلا لا تتعداه ولا تؤثر فيه سواه ، فبذلك تظهر بركة الأوقات.

فأما إذا تركت نفسك سدى مهملا إهمال البهائم ، لا تدري بماذا تشتغل في كل وقت؟ فينقضي أكثر أوقاتك ضائعا ، وأوقاتك عمرك ، وعمرك رأس مالك وعليه تجارتك و، به وصولك إلى نعيم دار الأبد في جوار الله تعالى ، فكل نفس من أنفاسك جوهرة لا قيمة لها ، إذ لا بدل له فإذا فات فلا عود له.

فلا تكن كالحمقى المغرورين الذين يفرحون كل يوم بزيادة أموالهم مع نقصان أعمارهم ، فأي خير في مال يزيد وعمر ينقص!

ولا تفرح إلا بزيادة علم أو عمل صالح ، فإنهما رفيقاك يصحبانك في القبر حيث يتخلف عنك أهلك ومالك وولدك وأصدقاؤك.

ثم إذا اصفرت الشمس فاجتهد أن تعود إلى المسجد قبل الغروب وتشتغل بالتسبيح والاستغفار ، فإن فضل هذا الوقت كفضل ما قبل الطلوع قال الله تعالى: (وَسَبِح بِحَمدِ رَبِك قَبلَ طُلوع الشَمس وَقَبلَ غُروبِها).

واقرأ قبل غروب الشمس أربع سور من القرآن هي: والشمس وضحاها ، والليل إذا يغشى ، والمعوذتين.

ولتغرب عليك الشمس وأنت في الاستغفار ، فإذا سمعت الأذان فاجبه وقل بعده: اللهم إني أسألك عند إقبال ليلك وإدبار نهارك وحضور صلاتك وأصوات دعاتك: أن تؤتي محمد الوسيلة - الدعاء كما سبق.

ثم صل الفرض بعد جواب المؤذن والإقامة ، وصل بعده قبل أن تتكلم ركعتين فهما راتبة المغرب ، وإن صليت بعدهما أربعا تطيلهن فهن أيضا سنة.

وإن أمكنك أن تنوي الاعتكاف إلى العشاء وتحيى ما بين العشاءين بالصلاة فافعل ، فقد ورد في فضل ذلك ما لا يحصى ، وهي ناشئة الليل لأنه أول نشأته ، وهي صلاة الأوابين ، وسئل رسول الله صلى الله عليه وسلم عن قوله تعالى: (تَتَجافى جُنوبُهُم عَنِ المَضاجِع) فقال: (هي الصلاة ما بين العشاءين فإنها تذهب بملاغي النهار).والملاغي: جمع ملغاة ، فهي من اللغو.

فإذا دخل وقت العشاء فصل أربع ركعات قبل الفرض إحياء لما بين الأذانين ففضل ذلك كثير وفي الخبر: (أن الدعاء بين الأذان والاقامة لا يرد).

ثم صل الفرض وصل الراتبة ركعتين ، واقرأ فيهما سورة الم السجدة ، وتبارك الملك ، أو سورة يس ، والدخان ، فذلك مأثور عن رسول الله صلى الله عليه وسلم.

وصل بعدهما أربع ركعات ففي الخبر ما يدل على عظم فضلهن ، ثم صل الوتر بعدها ثلاثا بتسليمتين أو بتسليمة واحدة.

وكان رسول الله صلى الله عليه وسلم يقرأ فيها سورة: سبح اسم ربك الأعلى ، وقل يأيها الكافرون ، والاخلاص ، والمعوذتين ، فإن كنت عازما على قيام الليل فأخر الوتر ليكون آخر صلاتك وترا.

ثم اشتغل بعد ذلك بمذاكرة علم أو مطالعة كتاب ، ولا تشتغل باللهو واللعب فيكون ذلك خاتمة أعمالك قبل نومك ، فإنما الأعمال بخواتيمها.





ولا تشتغل بعد العصر إلا بمثل ما سبق قبله ، ولا ينبغي أن تكون أوقاتك مهملة ، فتشتغل في كل وقت بما اتفق كيف اتفق ، بل ينبغي أن تحاسب نفسك وترتب أورادك في ليلك ونهارك ، وتعيّن لكل وقت شغلا لا تتعداه ولا تؤثر فيه سواه ، فبذلك تظهر بركة الأوقات.



             และท่านอย่าได้วุ่นวายกับงานใดๆหลังละหมาด อัศริ ยกเว้น ในสิ่งที่ข้าพเจ้า(อีหม่าม ฆอซาลี  รด) ได้กล่าวไว้แล้วก่อนหน้านี้ ดังนั้นท่านจงพิจารณาในเวลาของท่าน(ตลอดทั้งวัน) ว่าจะกระทำอย่างไร(อามาล) ในเวลาที่จะมาถึง และ สมควรที่ท่านต้องพิจารณาตัวของท่าน(ในการที่จะปฎิบัติอามาลใดๆที่สะดวก) และจงแยก วิริดของท่าน และวิธีการที่ท่าน(จะทำการวิริด) ตลอดในเวลา กลางคืน และกลางวันของท่าน  และท่านจงกำหนดเวลาให้ชัดเจนที่จะวิริด  และอย่าให้มากเกินไป และอย่ากระทำก่อน(ที่ท่านได้กำหนดเวลาในวิริด) จงทำพร้อมๆ(ตรงกับเวลา)ที่ทำได้กำหนด(ที่จะวิริด)  ดังนั้นด้วยกับสิ่งนี้(การกำหนดเวลาในการวิริด) ท่าน(จะได้เห็นได้สัมผัส)ถึงบารอกัตของเวลาต่างๆที่เผยออกมา(ด้วยการวิริดและรู้ถึงความมีค่าของเวลาว่ามากมายเพียงใด)


فأما إذا تركت نفسك سدى مهملا إهمال البهائم ، لا تدري بماذا تشتغل في كل وقت؟ فينقضي أكثر أوقاتك ضائعا ، وأوقاتك عمرك ، وعمرك رأس مالك وعليه تجارتك و، به وصولك إلى نعيم دار الأبد في جوار الله تعالى ، فكل نفس من أنفاسك جوهرة لا قيمة لها ، إذ لا بدل له فإذا فات فلا عود له.



แต่หากว่า ท่านละทิ้ง(เพิกเฉย) (ด้วยการไม่กระทำใดๆ) ปล่อย(เวลา)ให้เปล่าประโยชน์ ทอดทิ้ง(เวลาไปเฉยๆเสมือน) สัตว์  ที่ไม่รู้ว่าอะไรที่ควรกระทำในทุกๆเวลา (แล้วปล่อย) เวลาส่วนมากให้หมดไปโดยเปล่าประโยชน์ และเวลาของท่านคืออายุของท่าน และอายุของท่านคือต้นทุนของท่าน และจะได้ผลกำไรในการค้า(เวลาในการมีชีวิต)นั้นก็ ด้วยต้นทุนนี้       และด้วยผลกำไรนี้จะนำไปสู่ สถานที่ที่เป็นสุขถาวรในความใกล้ชิด(ตามที่พระองค์ทรงบอกหรือสัญญาที่มีต่อบ่าว)กับพระองค์อัลเลาะห์(ซบ)   หากว่าทุกๆ ลมหายใจจากลมหายใจของท่าน นั้น เสมือน เพรช นิลจินดา  ที่ประเมินค่าไม่ได้  ไม่มีสิ่งใดสามารถทดแทนได้ เมื่อมัน(เวลา)ได้ผ่านไป และไม่สามารถย้อนกลับมา(กระทำใดๆได้อีก) 

فلا تكن كالحمقى المغرورين الذين يفرحون كل يوم بزيادة أموالهم مع نقصان أعمارهم ، فأي خير في مال يزيد وعمر ينقص!

       และเป็นเสมือนคนที่โง่เขลา และเสมือนบรรดาผู้ที่ไร้คุณค่า ไร้ประโยชน์  บรรดาผู้ที่มีความยินดีกับการขวนขวายหาสมบัติเพิ่มเติมในทุกๆวัน (เสมือน)เขานั้น ได้ทำให้ชีวิตสั้นลง (เพราะไม่รู้คุณค่าของเวลา และกระทำแต่สิ่งที่ไร้ประโยชน์ต่ออาคิเราะห์)  และสิ่งใดเล่า(ที่ดี) ในเมื่อสมบัติที่มีเพิ่มเติมแต่ชิวิต สั้นลง (ไร้คุณค่าในการใช้ชีวิต) 

ولا تفرح إلا بزيادة علم أو عمل صالح ، فإنهما رفيقاك يصحبانك في القبر حيث يتخلف عنك أهلك ومالك وولدك وأصدقاؤك.

   และจงอย่าพอใจ(ดังที่กล่าวมาแล้ว) ยกเว้น (พอใจ)ด้วยกับการ ขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติม และ ปฎิบัติอามาลที่ดี  ดังนั้นแท้จริง สิ่งนี้(ความรู้ที่เป็นประโยชน์และอามาลที่ดี) เป็นมิตร และเพื่อนของท่าน ในกุโบร์  สิ่งที่จะจากท่านไป(อย่างแท้จริงเมื่อท่านได้ตายไปและไปอยุ่ในกุโบร์) คือครอบครัวของท่านและสมบัติของท่าน ลูกๆของท่าน เพื่อนๆของท่าน (ทั้งหมดนี้จะจากท่านไปอย่างแน่นอน)


ثم إذا اصفرت الشمس فاجتهد أن تعود إلى المسجد قبل الغروب وتشتغل بالتسبيح والاستغفار ، فإن فضل هذا الوقت كفضل ما قبل الطلوع قال الله تعالى:
 (وَسَبِح بِحَمدِ رَبِك قَبلَ طُلوع الشَمس وَقَبلَ غُروبِها).


   หลังจากแสงจากดวงตะวันได้เปลี่ยน(เป็นสีเหลือง ใกล้เวลามัฆริบ) ท่่านจงไปมัสยิดก่อนที่ พระอาทิตย์จะตก(เข้าเวลามัฆริบ) และจงทำการตัชเบียะห์และอิฆติรฟาร(ให้มากๆ) เพราะเวลาดังกล่าว ประเสริฐ เสมือน เวลาหลังซุบฮิ จนพระอาทิตย์ได้ออกส่องแสง   ดังในอัลกุรอ่านได้กล่าวไว้  (وَسَبِح بِحَمدِ رَبِك قَبلَ طُلوع الشَمس وَقَبلَ غُروبِها).  ซูเราะห์ ตอฮา  อายะห์ที่ 130

ความว่า  และจงแซ่ซร้องสดุดี สรรเสริญ พระผู้เป็นเจ้าของเจ้า  ก่อนตะวันขึ้น และตะวันตกลงไป

واقرأ قبل غروب الشمس أربع سور من القرآن هي: والشمس وضحاها ، والليل إذا يغشى ، والمعوذتين.


และจงอ่าน ก่อนที่ดวงอาทิตย์จะตกดิน ดังนี้ ซูเราะห์4ซูเราะห์ดังนี้
1 ซูเราะห์ ดุฮา
2 ซูเราะห์ อัลลัยลฺ  และ
3 ซูเราะห์ อันนาส และ
4 ซูเราะห์ อัลฟาลัก

ولتغرب عليك الشمس وأنت في الاستغفار ، فإذا سمعت الأذان فاجبه وقل بعده:


 เมื่อดวงอาทิตย์ได้ตก(เข้าเวลามัฆริบแล้ว) ท่านจงกล่าว ซิเกร และ อิสติฆฟาร (ระหว่างรอการอาซาน) และ กล่าวรับอาซาน เมื่อได้ยินเสียงอาซาน และจงกล่าวดุอาหลังจาก อาซานจบแล้วดังนี้
 
اللهم إني أسألك عند إقبال ليلك وإدبار نهارك وحضور صلاتك وأصوات دعاتك: أن تؤتي محمد الوسيلة -
الدعاء كما سبق.

อัลลอฮุมม่าอินนี อัซอะลุก้า อินด้า อิกบาลิ ลัยลิก้า ว่าอิดบาริ นะฮาริก้า ว่าฮูดูริซอลาติก้า ว่าอัซว่าติ ดุอาติก้า อันตุติย่า มูฮำมะดั้ลว่าซีละห์
 
ความว่า  โอ้ พระองค์อัลเลาห์(ซบ) โปรดเมตตาให้(ขอ)ข้าพเจ้า ในขณะที่กลางคือได้มาและกลางได้หายไป และในขณะที่ได้เวลาละหมาด และเมื่อได้ยินเสียงเรียกของพระองค์(อาซาน) ได้โปรดประทานให้นายข้าพเจ้า ท่านนบีมูฮำหมัด(ซล) วาซีละ (แนวทางที่ดีที่เที่ยงตรง)
 

 และดุอาที่(อีหม่าม ฆอซาลี (รด) ได้กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ ในบทที่แล้ว ดุอารับอาซาน)

ثم صل الفرض بعد جواب المؤذن والإقامة ، وصل بعده قبل أن تتكلم ركعتين فهما راتبة المغرب ، وإن صليت بعدهما أربعا تطيلهن فهن أيضا سنة.


       หลังจากนั้น ท่านจงละหมาดฟัรดู (มัฆริบ) และท่านจงละหมาดสุนัต ร่อวาติบหลังฟัรดู 2 ร่อกาอัต ก่อนที่ท่านจะพูดใดๆ  แต่หากว่าท่านจะละหมาดสุนัต 4 ร่อกาอัตหลังจาก 2 ร่อกาอัต(สุนัตแรกหลังมัฆริบ) ก็เป็น สุนัตเหมือนกัน(สุนัตเอาวาบีน)

وإن أمكنك أن تنوي الاعتكاف إلى العشاء وتحيى ما بين العشاءين بالصلاة فافعل ، فقد ورد في فضل ذلك ما لا يحصى ، وهي ناشئة الليل لأنه أول نشأته ، وهي صلاة الأوابين ، وسئل رسول الله صلى الله عليه وسلم عن قوله تعالى: (تَتَجافى جُنوبُهُم عَنِ المَضاجِع) فقال: (هي الصلاة ما بين العشاءين فإنها تذهب بملاغي النهار).والملاغي: جمع ملغاة ، فهي من اللغو.


       และ(หากท่านมีความสามารถ)ท่านจงเหนียต อิฟติกาฟ(และอยู่) ในสถานที่ที่ท่านทำการละหมาด(มัสยิดหรือ บาแล) จนกว่าจะเข้าเวลา อีซา  ในระหว่างเวลา(มัฆริบและอีซา) เพื่อสิ่งที่ประเสริฐกว่า ท่านจงละหมาด(สุนัต และ ดุอา)และวิรด (ช่วงมัฆริบถึงอีซาเป็นเวลาที่ประเสริฐยิ่ง )ที่กล่าวไว้ ว่า  ناشئة الليل      (ช่วงเปิดหรือเริ่มเวลากลางคืน)   และแท้จริงสิ่งที่กล่าวไว้คือ  وهي صلاة الأوابين       การเริ่มเวลากลางคืนด้วยการละหมาด

 และมีผู้ถามท่านนบี(ซล)ถึง จุดมุ่งหมายของ อายะห์นี้ว่าอย่างไร   
 

                (تَتَجافى جُنوبُهُم عَنِ المَضاجِع) ซูเราะห์  ซัดยาดะห์ อายะที่ 16

ความว่า
๑๖. สีข้างของพวกเขาเหินห่างจากที่นอนเพราะพวกเขามิได้ล้มตัวนอนเลย ด้วยพวกเขาปฏิบัติการนมัสการทั้งคืน
 
فقال: (هي الصلاة ما بين العشاءين فإنها تذهب بملاغي النهار)
  ท่านนบี(ซล)ได้ตอบว่า  สิ่งนี้คือ การละหมาดระหว่าง มัฆริบและอีซา เพราะว่า การละหมาดช่วงนี้เป็นการลดโทษ(จากการกระทำที่ไร้ประโยชน์) ที่เริ่มตั้งแต่ตอนรุ่งเช้า (และเป็นการทำให้บริสุทธิ)จนถึง อาเคร(สุดท้ายของวัน)


فإذا دخل وقت العشاء فصل أربع ركعات قبل الفرض إحياء لما بين الأذانين ففضل ذلك كثير وفي الخبر: (أن الدعاء بين الأذان والاقامة لا يرد).

   ดังนั้นเมือเข้าเวลา อีซา (หลังจากอาซานและดุอา) ท่านจงละหมาด สุนัต ก็อบลียะห์(สุนัตก่อนฟัรดู) อีซา 4 ร่อกาอัต เพื่อคงไว้ซึ่งชีวิต(ของเวลา)ในระหว่างอาซาน กับ อิกอมัต และความประเสริฐ(การละหมาดสุนัต ก่อนฟัรดู) นั้นมากมายนัก ที่มีกล่าวในฮาดิษ ท่านนบี(ซล)
 (أن الدعاء بين الأذان والاقامة لا يرد).
อินนัด ดุอาอะ บัยนั้ล อาซาน วั้ลอิกอมะติ ลายุรุดดุ

แท้จริงดุอาระหว่าง การอาซานและอิกอมัต นั้นจะไม่ถูกปฎิเสธ


ثم صل الفرض وصل الراتبة ركعتين ، واقرأ فيهما سورة الم السجدة ، وتبارك الملك ، أو سورة يس ، والدخان ، فذلك مأثور عن رسول الله صلى الله عليه وسلم.


หลังจากนั้นท่านจงละหมาดฟัรดูอีซา และละหมาดสุนัต หลัง อีซา 2 ร่อกาอัต และท่านจงอ่าน ซูเราะห์ ซัดยะดะห์ หรือ ยาซีนในร่อกาอัต แรก(หลังฟาติฮะห์)    และจงอ่าน ซูเราะห์  อัลมุล หรือ อัดดุคอน ในร่อกาอัตที่2

    และการอ่่านซูเราะห์ดังกล่าวนั้น  มีรายงานจากท่านนบี(ซล)

وصل بعدهما أربع ركعات ففي الخبر ما يدل على عظم فضلهن ، ثم صل الوتر بعدها ثلاثا بتسليمتين أو بتسليمة واحدة.

 และหลังจากนั้น ท่านจงเพิ่ม(การละหมาด)อีก 4 ร่อกาอัต (ด้วยกับ 2 สาลาม) และเป็นสิ่งที่มี สายรายงานถึงความประเสริฐ  ที่มากมายยิ่งนัก  หลังจากนั้นท่านละหมาด วิเตร (สุนัต) 3 ร่อกาอัต ด้วยกับ 2 สลามหรือ 1 สลาม

وكان رسول الله صلى الله عليه وسلم يقرأ فيها سورة: سبح اسم ربك الأعلى ، وقل يأيها الكافرون ، والاخلاص ، والمعوذتين ، فإن كنت عازما على قيام الليل فأخر الوتر ليكون آخر صلاتك وترا.

    และท่านนบี(ซล) ได้อ่าน ในร่อกาอัตแรก ซูเราะห์ อัลอะห์ลา  และในร่อกาอัต ที่ สอง ซูเราะห์ กาฟิรูน และในร่อกาอัตที่ 3  ซูเราะห์ อัลอิคลาศ อันนาสและ อัลฟาลัก 
   และหากว่าท่านตั้งใจที่จะตื่นขึ้นเพื่อที่จะละหมาด (ตะฮัดยุด) จงละหมาดวิเตร(ที่กล่าวมา)เป็นสิ่งสุดท้าย เนื่องจากการละหมาด วิเตรนี้เป็นสิ่งที่ดีที่สุด ที่จะละหมาดในช่วงสุดท้ายของคืน(ก่อนนอน)


ثم اشتغل بعد ذلك بمذاكرة علم أو مطالعة كتاب ، ولا تشتغل باللهو واللعب فيكون ذلك خاتمة أعمالك قبل نومك ، فإنما الأعمال بخواتيمها.

 หลังจากนั้น ท่านจงกระทำด้วยการ พูดคุยเกี่ยวกับวิชาความรู้ (ที่มีประโยชน์) หรือ เรียนกีตาบ  และท่านจงอย่าสนุกสนานด้วยการเล่น(ในสิ่งต่างๆที่ไร้ประโยชน์) ในปรากฏ ว่าอามาลสุดท้ายก่อนนอน(เป็นสิ่งที่ดีที่สุด)  แท้จริง (อามาลที่จะถูกพิจารณาเป็นพิเศษหลังจากตาย) นั้นคืออามาลสุดท้าย(ที่ควรให้ดีที่สุด)   


                                                                                          วัสลามครับ













ออฟไลน์ As-Zaleek

  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 804
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +33
    • ดูรายละเอียด

ขอบคุณบัง amad 254 ที่คอยนำเสนอสิ่งดีๆให้พวกเรา...
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิ.ย. 10, 2011, 03:13 PM โดย As-Zaleek »
الأيام تمضى       والعمر يزيد         ولكن الحب بالقلب أكيد

ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
   อัสลามุอลัยกุมครับ


آداب النوم                                                           
فإذا أردت النوم فابسط فراشك مستقبل القبلة ، ونم على يمينك كما يضطجع الميت في لحده ، واعلم أن النوم مثل الموت ، واليقظة مثل البعث ، فكن مستعدا للقائه بأن تنام على طهارة ، وتكون وصيتك مكتوبة تحت رأسك ، وتنام تائبا من الذنوب مستغفرا عازما على ألا تعود إلى معصية ، واعزم على الخير لجميع المسلمين إن بعثك الله تعالى ، وتذكر أنك ستضجع في اللحد وحيدا فريدا ، ليس معك إلا عملك ، ولا تجزى إلا بسعيك.

ولا تستجلب النوم تكلفا بتمهيد الفرش الوطيئة ، فإن النوم تعطيل للحياة إلا إذا كانت وبالا عليك فنومك سلامة لدينك.

واعلم أن الليل والنهار أربع وعشرون ساعة ، فلا يكن نومك بالليل والنهار أكثر من ثماني ساعات ، فيكفيك إن عشت مثلا ستين سنة أن تضيع منها عشرين سنة وهو ثلث عمرك.

وأعدّ عند النوم سواكك وطهورك ، واعزم على قيام الليل أو على القيام قبل الصبح ، فركعتان في جوف الليل كنز من كنوز البر ، فاستكثر من كنوزك ليوم فقرك ، فلن تغني عنك كنوز الدنيا إذا متّ.


                           
๑                                                     آداب النوم                                                         
                                               บทว่าด้วยมารยาทในการนอน


فإذا أردت النوم فابسط فراشك مستقبل القبلة ، ونم على يمينك كما يضطجع الميت في لحده ، واعلم أن النوم مثل الموت ، واليقظة مثل البعث ، فكن مستعدا للقائه بأن تنام على طهارة ، وتكون وصيتك مكتوبة تحت رأسك ، وتنام تائبا من الذنوب مستغفرا عازما على ألا تعود إلى معصية ، واعزم على الخير لجميع المسلمين إن بعثك الله تعالى ، وتذكر أنك ستضجع في اللحد وحيدا فريدا ، ليس معك إلا عملك ، ولا تجزى إلا بسعيك.

     เมื่อท่านต้องการที่จะนอน ท่านจงเตรียมตัว (และหันหัวไปทางกิบลัต) และนอนด้วยกับการตะแคงขวา  เสมือนผู้ที่ตายในหลุมฝังศพ(ในขณะที่ถูกฝัง)

และท่านจงรู้เถอะว่า การนอนนั้น เสมือนการตาย และการตื่น ก็เสมือนกับการตื่น ในวันกิยามัตที่จะมาถึง (ไม่มีใครรู้ว่าวิญญานนั้นจะถูกพระองค์อัลเลาะห์(ซบ) ถอดออกจากร่างกายในคืนใด  ที่ท่านนอน ) และเช่นนี้ ท่านจงเตรียมตัวในการนอน ถ้าได้พบกับ พระองค์อัลเลาะห์(ซบ)(ความตายมาในคืนที่นอน) ก็จงพบด้วยกับความบริสุทธิ์(จากฮาดัษและบริสุทธิ์ใจในการนอนด้วยการรำลึกถึงพระองค์) และ ท่านจงทำ พินัยกรรม หรือคำสั่งเสีย ไว้ใต้หัวของท่าน(ใต้หมอน)   
และท่านจงนอน พร้อมกับการเตาบัตและขออภัยโทษ ท่านจงยึดมั่นอย่างตั้งใจว่าจะไม่กลับไปทำมัวะซิยัต (การฝ่าฝืน) อีก และท่านจงตั้งใจที่จะทำดีต่อมนุษย์ทั้งมวล หากพระองค์อัลเลาะห์(ซบ)นั้นให้ท่านได้ตื่นขึ้นอีก(ในอีกวัน หรือ ตื่นในดุนยาต่อไป)
 
   และท่านจงรำลึกว่า แท้จริงร่างกายท่านนั้นจะต้อง นอนในหลุมฝังศพ และต้องแตกสลายไป(อย่างแน่นอน)  ไม่มีสิ่งใดอยู่กับท่าน(ในช่วงเวลานั้น) นอกจาก อามาลของท่าน และไม่มีผลประโยชน์ใดๆ(ที่จะได้ตอบแทนในขณะนั้น)ยกเว้น ความพยายามของท่าน(ที่จะต้องถูกสอบสวน)


ولا تستجلب النوم تكلفا بتمهيد الفرش الوطيئة ، فإن النوم تعطيل للحياة إلا إذا كانت وبالا عليك فنومك سلامة لدينك.

และท่านอย่ารีบเร่ง ตระเตรียมที่นอน(แต่เนินๆ ก่อนเวลา) อย่างง่ายๆ  แท้จริงการนอนนั้น เป็นการ (ใช้เวลาโดย) ความว่างเปล่าของชีวิต  ยกเว้น ก็ต่อเมื่อที่ท่าน(คิดว่า) การตื่นของท่านเป็นการไม่ปลอดภัย(ต่อศาสนาของท่าน) ท่านจงนอนเถอะ เพราะการนอน(ในกรณีนี้ ) เป็นาการปลอดภัยต่อศาสนาของท่าน

واعلم أن الليل والنهار أربع وعشرون ساعة ، فلا يكن نومك بالليل والنهار أكثر من ثماني ساعات ، فيكفيك إن عشت مثلا ستين سنة أن تضيع منها عشرين سنة وهو ثلث عمرك.

    และจงรู้เถอะว่า แท้จริงเวลา กลางคืนและกลางวัน รวมกันนั้นได้ 24 ชั่วโมง และท่านอย่าได้นอนกลางวันหรือกลางคืน มากกว่า 8 ชั่วโมง หากปรากฏว่าท่านนั้น อายุ 60 ปี ก็เท่ากับ ท่านนั้นได้สูญเวลาเปล่าไป 20 ปี จากอายุของท่าน เป็น 1 ส่วน 3 (ของชีวิตของท่าน)


وأعدّ عند النوم سواكك وطهورك ، واعزم على قيام الليل أو على القيام قبل الصبح ، فركعتان في جوف الليل كنز من كنوز البر ، فاستكثر من كنوزك ليوم فقرك ، فلن تغني عنك كنوز الدنيا إذا متّ.

   เมื่อท่านเตรียมที่จะนอน ท่านจง แปรงฟัน และทำความสะอาด (จากน่ายิสต่างๆในร่างกาย รวมฮาดัษ เล็กและใหญ่) และท่านจงตั้งใจที่จะตื่นในช่วงดึก(เพื่อ ปฎิบัติละหมาดและอามาลต่างๆ ) หรือ ช่วงก่อนซุบฮิ  เพราะ 2 ร่อกาอัตในช่วงดึกนั้น เป็นการสะสม(สมบัติที่จะใช้ในวันอาคิเราะห์) ที่ดี(ที่ใช้ได้จริงในวันนั้น)  ดังนั้น ท่านจงสะสมให้มากๆ จาก การสะสมนี้ เพื่อเป็น สมบัติที่จะใช้ในวันที่ท่าน ยากจน(วันกิยามะห์ ) และท่านจะไม่มีสมบัติ(ทรัพย์สินในดุนยา) ในการสะสมในดุนยานี้(ถึงแม้จะมากเพียงใดแต่ใช้ไม่ได้ในกุโบร์) เมื่อท่านได้ตายไป(ยกเว้น อามาลที่ดีท่านได้สะสมไว้ในหน้าดุนยาเท่านั้น)   


                                                                                   วัสลามครับ

ออฟไลน์ กูปีเยาะฮฺสะอื้น

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1679
  • เพศ: ชาย
  • ที่สุดแห่งชีวิต
  • Respect: +14
    • ดูรายละเอียด
มีหลักเกณฑ์ ยึดหลักการ มีหลักฐาน มั่นหลักธรรม

ออฟไลน์ a d n a n

  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 698
  • เพศ: ชาย
  • "และคำพูดที่ดี เป็นซอดาเกาะฮฺ" (บุคอรียฺ , มุสลิม)
  • Respect: +13
    • ดูรายละเอียด
ญาซากัลลอฮุค็อยร็อน สำหรับบทความดี ๆ ครับ loveit:
หากมาอย่าง " ผึ้ง " ก็จะได้ ~o น้ำหวาน o~ กลับไป oOo หากมาอย่าง " แมลงวัน " ก็จะไม่ได้อะไร นอกจาก

ออฟไลน์ khata

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 209
  • เพศ: หญิง
  • ซอบัร ซอบัรและซอบัร
  • Respect: +5
    • ดูรายละเอียด
ญาซากัลลอฮฺฮุคอยร๊อนค่ะ เป็นประโยชน์มาก ๆค่ะ mycool:

อ่านแล้วต้องสำรวจตัวเองเลย ยังอ่านไม่หมด จะพยายามอ่านและทำความเข้าใจไปเรื่อยๆ




ฉันไม่มีอะไรพิเศษหรอก หากอัลลอฮฺไม่ประสงค์ให้ฉันเป็น

ฉันจะขอยืนหยัดในหนทางของอัลลอฮฺจนกว่าวันสุดท้ายจะมาถึง

ออฟไลน์ vrallbrothers

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 498
  • ALLAH MAHA BESAR...
  • Respect: +9
    • ดูรายละเอียด

"ญะซากัลลอฮุค็อยร็อน" ครับ

เดี๋ยวจะกลับไปอ่านใหม่ตั้งแต่หน้าหนึ่งครับ "อินชาอัลลอฮ์"


เวลาเปรียบเสมือนคมดาบ...หากท่านไม่ตัดมัน มันจะตัดท่าน



ยะฮูดีใช้ระเบิดฟอสฟอรัส... เลวร้าย ป่าเถื่อนยิ่งกว่าสัตว์เดรัจฉาน

 

GoogleTagged