ผู้เขียน หัวข้อ: อัลมัดค็อล อิลา มัซฮับ อัลอิมาม อัชชาฟิอีย์ เราะฎยัลลอฮุอันฮฺ  (อ่าน 2387 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

Qortubah

  • บุคคลทั่วไป


المدخل إلى مذهب الإمام الشافعي رضي الله عنه


تأليف : أكرم يوسف عمر القواسمي
 
تقديم : مصطفى سعيد الخن
 
الناشر : دار النفائس للنشر والتوزيع- عمّان - الأردن
 
تاريخ الطبعة: 19/02/2003

نوع التغليف: مقوى فاخر (فني) كعب مسطح

عدد الأجزاء : 1

عدد الصفحات : 634

حجم الكتاب : 17 × 24 سم

الجامعة : الجامعة الأردنية

تاريخ الحصول على الدرجة : 28/07/2002

نوع الدرجة : دكتوراه


 

Qortubah

  • บุคคลทั่วไป
نبذة عن الكتاب : هذه دراسة أكاديميّة جَيّدة في بابها ، مهمة في موضوعها ، اعتمد مؤلفها المنهج الوصفي التأريخي في عرض مذهب الإمام الشافعي ومدارسه ومؤلفاته وخصائصه ومصطلحاته .
جاءت هذه الدّراسة لتحقق أهدافاً ثلاثة رئيسة

أولاً : تسليط الضوء على الشخصية الاجتهادية الكبيرة للإمام الشافعي ، من حيث العوامل المؤثرة في تكوينها ، والآثار العلمية المنبثقة عنها ، مع تلمُّس مظاهر التميُّز عنده ؛ علماً أنه الوحيد الذي كتب أصوله وفقهه بنفسه من الأئمة الأربعة

ثانياً : دراسة التطور التاريخي للمذهب الشافعي ،منذ ظهور فقه مؤسسه إلى زمن كتابه هذه الرسالة ، مع كل ما تقتضيه هذه الدراسة من بيان ، مثل الترجمة لأبرز أعلام المذهب عبر التاريخ الإسلامي ؛ ترجمة تُظهر جهودهم وآثارهم العلمية في خدمة مذهبهم


ثالثاً : تسهيل مهمة الدّارسين للفقه الشافعي من طلبة العلم الشرعي والمفتين ونحوهم ؛ وذلك بشرح أبرز مصطلحات علماء الشافعية في مصنفاتهم ، مع تقسيم تلك المصنفات إلى عدّة مجموعات ؛ بالنظر إلى نوعية الاستفادة منها


وهذا وصف موجز لمباحث هذه الدراسة ، والتي جاءت في بابين وخاتمة

تناول الباب الأول الإمام الشافعي بوصفه مؤسس المذهب ، وكان ذلك في ثلاثة فصول ، تضمن الأول منها عرض سيرة الإمام الشافعي وما اتصل بها منذ ولادته في غزة سنة 150 هجرية إلى وفاته في مصر سنة 204 هجرية ، مُقسّمة إلى ثمانِ مراحل ؛ بهدف الوقوف على العوامل المؤثرة في تكوين الشخصية الاجتهادية الكبيرة للإمام المؤسس ؛ رجاء أن تكون هذه الطريقة نوعاً من التجديد في منهج الترجمة للأئمة الأعلام

الفصل الثاني فقد تناول علوم الإمام الشافعي ، وإحاطته بفقه وأصول كلَّ من الإمامين أبي حنيفة ومالك بن أنس ، واطلاعه على فقه كلَّ من الإمامين الأوزاعي والليث بن سعد رحمهم الله جميعاً ؛ بهدف استجلاء وفرة مقومات الاجتهاد المطلق عند الإمام الشافعي على أوسع مدى متصوّر في عصره

أما الفصل الثالث والأخير من هذا الباب ، فقد عرض مصنفات الإمام الشافعي ، سواء أكانت مفقودة أو مطبوعة ، أو ما تزال مخطوطة حتى زمن كتابة هذه الرسالة ؛ مع الإشارة إلى ما وقع فيه بعض الباحثين من أخطاءٍ حول نسبة بعض الكتب إلى الإمام الشافعي ، أو لبسٍ في تسميتها أو في وصفها

وتناول الباب الثاني من هذه الدراسة المذهب الشافعي ، وكان ذلك في فصلين ، تضمّن الأول منهما – وهو أهم الفصول وأطولها – عرض التطور التاريخي للمذهب الشافعي من خلال تقسيمه إلى ستة أدوار ؛ بهدف الوقوف على العوامل المؤثرة في ظهوره وانتشاره ، ثم في استقراره وعدم اندثاره ، مع التعريف بأبرز أعلام الشافعية في كل دور ، وجهودهم في خدمة مذهبهم ، وأبرز مصنفاتهم وآثارهم العلمية


أما الفصل الثاني فقد عرض جانباً كبيراً من مصطلحات علماء الشافعية في كتبهم مع ترتيب مصنفاتهم الفقهية والأصولية المتداولة في زمن كتابة هذه الرسالة ؛ بهدف تسهيل الاستفادة منها ، على طلبة العلم الشرعي والعلماء والباحثين في الفقه الإسلامي



Qortubah

  • บุคคลทั่วไป

หนังสือดีมากครับ ได้ประโยชน์จากเล่มนี้มากๆเลย แต่ต้องมะอัฟด้วยที่ไม่มีเวลาอธิบายเนื้อหาของหนังสือเป็นภาษาไทย ไว้ท่านอื่นเข้ามาเสริมพลางๆก็ได้ครับ แล้วจะมาเพิ่มเติม อินชาอัลลอฮฺ

ออฟไลน์ قطوف من أزاهير النور

  • ดุนยา..มาเพื่อไป
  • ทีมงานหลังบอร์ด (-_-''')
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1582
  • อยากเป็นเด็กดีของอัลลอฮฺ
  • Respect: +9
    • ดูรายละเอียด
    • แวะไปเม้นหน่อยน่า ^^

ใบ้หน่อยนึงก่อนไปก็ไม่ได้ - -'
يَا بُنَيَّ إِنْ قَدَرْتَ أَنْ تُصْبِحَ وَتُمْسِيَ لَيْسَ فِي قَلْبِكَ غِشٌّ لِأَحَدٍ فَافْعَلْ
 ثُمَّ قَالَ لِي يَا بُنَيَّ وَذَلِكَ مِنْ سُنَّتِي وَمَنْ أَحْيَا سُنَّتِي فَقَدْ أَحَبَّنِي وَمَنْ أَحَبَّنِي كَانَ مَعِي فِي الْجَنَّةِ

"โอ้ลูกรัก ถ้าหากเจ้าสามารถที่จะตื่นขึ้นมาในเวลาเช้าจนถึงเวลาเย็น โดยที่เจ้าไม่คิดร้ายต่อผู้ใด เจ้าจงกระทำเถิด
หลังจากนั้นท่านได้กล่าวแก่ฉันอีกว่า โอ้ลูกรัก และนั่นแหละเป็นแนวทางของฉัน
ผู้ใดฟื้นฟูแนวทางของฉันแสดงว่าเขารักฉัน และผู้ใดรักฉัน เขาได้อยู่กับฉันในสวรรค์"
(บันทึกโดย อัตติรมีซี)

Al Fatoni

  • บุคคลทั่วไป
อัสสลามุ อลัยกุม

        แล้วผมจะทราบความหมายไหมเนี่ยะ ก๊ากๆ ตาหลก ทะมายตูไม่เรียนอาหรับแต่แรกว้า จะได้รู้เรื่องจะเขาบ้างเนี่ยะ เหอๆ คิดแล้วเศร้าใจ แต่ต้องพยายามต่อไป ตอนนี้กำลังฝึกอยู่ ดุอาอฺด้วยนะครับ ญาซากั้ลลอฮุ ค็อยร็อน

วัสสลามุ อลัยกุม

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com

หนังสือดีมากครับ ได้ประโยชน์จากเล่มนี้มากๆเลย แต่ต้องมะอัฟด้วยที่ไม่มีเวลาอธิบายเนื้อหาของหนังสือเป็นภาษาไทย ไว้ท่านอื่นเข้ามาเสริมพลางๆก็ได้ครับ แล้วจะมาเพิ่มเติม อินชาอัลลอฮฺ

เรารอคุณเข้ามาเสริมและให้ความรู้แก่เราต่างหากครับ ^^   กระทู้นี้เราขอมอบให้แก่คุณ Qortubah ล่ะกันครับ  เพราะผมจะจัดการกระทู้อื่น ๆ อีกเยอะ  ยังไงก็ช่วย ๆ กันน่ะครับ ^^
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ julee

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 97
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
نبذة عن الكتاب : هذه دراسة أكاديميّة جَيّدة في بابها ، مهمة في موضوعها ، اعتمد مؤلفها المنهج الوصفي التأريخي في عرض مذهب الإمام الشافعي ومدارسه ومؤلفاته وخصائصه ومصطلحاته .
جاءت هذه الدّراسة لتحقق أهدافاً ثلاثة رئيسة

أولاً : تسليط الضوء على الشخصية الاجتهادية الكبيرة للإمام الشافعي ، من حيث العوامل المؤثرة في تكوينها ، والآثار العلمية المنبثقة عنها ، مع تلمُّس مظاهر التميُّز عنده ؛ علماً أنه الوحيد الذي كتب أصوله وفقهه بنفسه من الأئمة الأربعة

ثانياً : دراسة التطور التاريخي للمذهب الشافعي ،منذ ظهور فقه مؤسسه إلى زمن كتابه هذه الرسالة ، مع كل ما تقتضيه هذه الدراسة من بيان ، مثل الترجمة لأبرز أعلام المذهب عبر التاريخ الإسلامي ؛ ترجمة تُظهر جهودهم وآثارهم العلمية في خدمة مذهبهم


ثالثاً : تسهيل مهمة الدّارسين للفقه الشافعي من طلبة العلم الشرعي والمفتين ونحوهم ؛ وذلك بشرح أبرز مصطلحات علماء الشافعية في مصنفاتهم ، مع تقسيم تلك المصنفات إلى عدّة مجموعات ؛ بالنظر إلى نوعية الاستفادة منها


وهذا وصف موجز لمباحث هذه الدراسة ، والتي جاءت في بابين وخاتمة

تناول الباب الأول الإمام الشافعي بوصفه مؤسس المذهب ، وكان ذلك في ثلاثة فصول ، تضمن الأول منها عرض سيرة الإمام الشافعي وما اتصل بها منذ ولادته في غزة سنة 150 هجرية إلى وفاته في مصر سنة 204 هجرية ، مُقسّمة إلى ثمانِ مراحل ؛ بهدف الوقوف على العوامل المؤثرة في تكوين الشخصية الاجتهادية الكبيرة للإمام المؤسس ؛ رجاء أن تكون هذه الطريقة نوعاً من التجديد في منهج الترجمة للأئمة الأعلام

الفصل الثاني فقد تناول علوم الإمام الشافعي ، وإحاطته بفقه وأصول كلَّ من الإمامين أبي حنيفة ومالك بن أنس ، واطلاعه على فقه كلَّ من الإمامين الأوزاعي والليث بن سعد رحمهم الله جميعاً ؛ بهدف استجلاء وفرة مقومات الاجتهاد المطلق عند الإمام الشافعي على أوسع مدى متصوّر في عصره

أما الفصل الثالث والأخير من هذا الباب ، فقد عرض مصنفات الإمام الشافعي ، سواء أكانت مفقودة أو مطبوعة ، أو ما تزال مخطوطة حتى زمن كتابة هذه الرسالة ؛ مع الإشارة إلى ما وقع فيه بعض الباحثين من أخطاءٍ حول نسبة بعض الكتب إلى الإمام الشافعي ، أو لبسٍ في تسميتها أو في وصفها

وتناول الباب الثاني من هذه الدراسة المذهب الشافعي ، وكان ذلك في فصلين ، تضمّن الأول منهما – وهو أهم الفصول وأطولها – عرض التطور التاريخي للمذهب الشافعي من خلال تقسيمه إلى ستة أدوار ؛ بهدف الوقوف على العوامل المؤثرة في ظهوره وانتشاره ، ثم في استقراره وعدم اندثاره ، مع التعريف بأبرز أعلام الشافعية في كل دور ، وجهودهم في خدمة مذهبهم ، وأبرز مصنفاتهم وآثارهم العلمية


أما الفصل الثاني فقد عرض جانباً كبيراً من مصطلحات علماء الشافعية في كتبهم مع ترتيب مصنفاتهم الفقهية والأصولية المتداولة في زمن كتابة هذه الرسالة ؛ بهدف تسهيل الاستفادة منها ، على طلبة العلم الشرعي والعلماء والباحثين في الفقه الإسلامي



อัสสลามุอะลัยกุ้ม

             ผมขอถอดความข้อความแบบสรุปนะครับ

                ชื่อตำราเล่มนี้มีความหมายภาษาไทยว่า "ทางเข้าไปสู่มัซฮับของท่านอีม่ามซาฟีอี"
         ประพันธ์โดย  "ท่านอักรอม ยูซุฟ อุมัร อัลฟาวาซีมีย์" 
 
         หนังสือได้พูดถึงชีวะประวัติของท่านอีม่าม

       สำนักต่างๆที่ท่านซาฟีอีได้ทำการศึกษา
 
       ตำรับตำราต่างๆที่ท่านได้ทำการประพันธ์
 
       จุดเด่นต่างๆของท่าน

        ศัพท์ต่างๆทางวิชาการฟิกฮฺของท่าน
 
        การวินิจฉัยในปัญหาต่างๆของท่าน
 
        การชี้ขาดในปัญหาต่างๆของท่าน
 
        ชีวะประวัติของศานุศิษย์ที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิของท่าน
 
       การศึกษาของท่านด้วยกับอีม่ามฮานาฟี  อีม่ามมาลิก   และท่านอื่นๆ
 
        ศัพท์ต่างๆทางวิชาการฟิกฮฺของท่าน เพื่อให้เกิดความสะดวกง่ายดาย
        แก่ผู้ที่แสวงหาและวิจัยเกี่ยวกับเรื่องฟิกฮฺ
                       
                                                        วัสลลาม
الفخر كل الفخر أني اشعري

ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด
ต้องหาซื้อมาอ่านบ้าง
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ julee

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 97
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
 salam

                ถูกต้องแล้วครับเป็นหนังสือที่น่าค้นคว้าและน่าอ่าน
     สำนวนการเขียนก็ไม่ยากมากนัก

                                วัสสลาม
الفخر كل الفخر أني اشعري

ออฟไลน์ IamCrying

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 376
  • เพศ: ชาย
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
อืม น่าสนใจแฮะ ว่างๆ ท่านพี่ๆทั้งหลายก็ช่วยแปลให้อ่านบ้างนะครับ
ไอ้เรา อาหรับไม่รู้เรื่องเลย
แต่อยากอ่าน เลยต้องอาศัยพี่ๆๆละครับ
Closer than veins : Invite to the Way of thy Lord with wisdom... Qur.16:125

Qortubah

  • บุคคลทั่วไป

หายไปนานมะอัฟด้วยครับ  ;D

หนังสือเล่มนี้ สรุปง่ายๆก็คือเป็นหนังสือที่เปรียบเสมือน "คู่มือ" สำหรับผู้สนใจศึกษาฟิกฮฺชาฟิอีย์เลยทีเดียว

เรียกได้ว่าจะได้รู้จักมัซฮับชาฟิอีย์ตั้งแต่ตัวอิหม่ามเราะหิมะฮุลลอฮฺวะเราะฏิยะอันฮฺ ในส่วนของชีวประวัติของท่าน และการศึกษาหาความรู้ของท่าน ตั้งแต่ท่านเกิด (ฮ.ศ.150) จนถึงท่านเสียชีวิต (ฮ.ศ.204) โดยแบ่งเป็น 8 ขั้น เพื่อจะได้ทราบถึงปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อความรู้และบุคลิกของท่าน

และยังได้กล่าวถึง การศึกษาฟิกฮฺมาลิกีย์ของท่านจากอิหม่ามมาลิก และฟิกฮฺหะนะฟีย์จากสานุศิษย์ของอิหม่ามอบูหะนีฟะฮฺ เราะหิมะฮุมุลลอฮฺ ทำให้ท่านเชี่ยวชาญฟิกฮฺทั้ง 2 มัซฮับ รวมไปถึงความรู้ของอิหม่ามท่านอื่นๆ เช่น อัลเอาซาอีย์ และอัลลัยษ์ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท่านรอบรู้เรื่องฟิกฮฺเป็นอย่างมาก

จากนั้นผู้เขียนได้กล่าวถึงตำราของอิหม่ามชาฟิอีย์ ไม่ว่าจะเป็นส่วนที่พิมพ์จำหน่ายแล้ว ที่สูญหายไป หรือที่ยังไม่ได้รับการพิมพ์ รวมไปถึงหนังสือที่ถูกอ้างถึงท่านอย่างผิดๆ หรือกล่าวชื่อหนังสือไม่ถูกต้อง

จากนั้นได้กล่าวถึงมัซฮับชาฟิอีย์ โดยได้แบ่งพัฒนาการของมัซฮับออกเป็น 6 ช่วง และกล่าวถึงจุดเด่นจุดด้อยของแต่ละช่วงเวลา การแผ่ขยายของมัซฮับ รวมไปถึงชีวประวัติของอุละมาอ์ที่เด่นๆของแต่ละช่วงแต่ละยุค และผลงานของท่านเหล่านั้น

และหนังสือเล่มนี้ยังได้กล่าวถึงศัพท์เทคนิคที่สำคัญในมัซฮับ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ศึกษาที่จะต้องรู้ต้องเข้าใจ เช่น คำว่า อัลอัรฺญะหฺ, อัรฺรอญิหฺ, อัซซอฮิรฺ, อัชชัยคอน, ชัยคุลอิสลาม เป็นต้น ซึ่งเนื้อหาหลายๆส่วนก็นำมาจากหนังสือ الفوائد المكية فيما يحتاجه طلبة الشافعية ชื่อดังนั่นเอง

ประมาณนี้ละครับที่พอจะสรุปได้ เสียดายว่าตอนนี้หนังสือไม่ได้อยู่กับตัว มิเช่นนั้นคงจะให้รายละเอียดได้มากกว่านี้ ผู้รู้ท่านใดมีหนังสือ หรือมีข้อมูลเพิ่มเติมช่วยชี้แนะด้วยนะครับ ขอย้ำว่าหนังสือดีจริงๆ สมควรที่ผู้ศึกษามัซฮับชาฟิอีย์ต้องอ่าน เท่าที่ทราบยังไม่มีหนังสือเล่มใดเขียนถึงมัซฮับชาฟิอีย์ได้ครอบคลุมเหมือนหนังสือเล่มนี้ครับ วัลลอฮุอะอฺลัม


 

GoogleTagged