ผู้เขียน หัวข้อ: ศัพท์เชิงวิชาการของฟิกห์มัซฮับอิมามอัชชาฟิอีย์  (อ่าน 6443 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
ทัศนะคำพูดที่พาดพิงไปยังอัศฮาบ(สานุศิษย์)อิมามชาฟิอีย์  โดยเรียงลำดับของความมีน้ำหนักลดหลั่นลงไป  มีดั้งนี้

 الأصح

 الصحيح

 وَ قِيْلَ ْكَذَا


หากอุลามาอ์ได้กล่าวไว้ในหนังสือว่า  الأصح  แล้วหลังจากการอธิบายทัศนะดังกล่าว  ได้มีคำว่า والثاني  (ทัศนะที่สอง) ซึ่งทัศนะที่สองตรงนี้  หมายถึง الصحيح นั่นเองครับ

แต่อยู่ดี ๆ  อุลามาอ์ก็ได้บอกฮุกุ่มประเด็น(มัสอะละฮ์)หนึ่งแล้วระบุลงท้ายว่า  มันคือทัศนะที่  الصحيح  แล้วบอกต่อว่า  والثاني  (ทัศนะที่สอง)ตามมา โดยไม่ได้กล่าวคำว่า الأصح  มาก่อนหน้านั้นเลย  ดังนั้นคำว่า والثاني  (ทัศนะที่สอง) นี้  ก็หมายถึง  وَ قِيْلَ ْكَذَا ที่เป็นทัศนะที่ฏออีฟนั่นเองครับ  ซึ่งกรณีนี้  ให้ยึดทัศนะที่ระบุว่า  الصحيح  ไปเลยครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พ.ค. 01, 2008, 11:19 PM โดย al-azhary »
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
ในการที่เราจะศึกษา ฟิกฮฺมัซฮับชาฟิอีย์  ให้ลึกซึ้งนั้น  จำเป็นที่เราจะต้องรู้จัก คำนิยามต่างๆ ในมัซฮับชาฟิอีย์ ก่อน
ซึ่งคำนิยามหลักๆ ในมัซหับชาฟิอีย์นั้น  ก็มีอยู่ 5 อย่างด้วยกันที่เรามักจะพบอยู่เสมอในหนังสือฟิกฮฺของมัซหับชาฟิอีย์   นั่นก็คือ....

1. القول أو الأقوال

2. الوجوه أو الأوجه

3. الطريق

4. القول المنصوص

5. القول المخرج

ในส่วนคำนิยามแรก    คือ القول أو الأقوال   ได้ถูกอธิบายไปแล้วก่อนหน้านี้

ในส่วนคำนิยามที่สอง  คือ  الوجوه أو الأوجه  ก็ถูกอธิบายไว้แล้วเช่นกันก่อนหน้านี้

แล้วคำนิยาม  الطريق  ,  القول المنصوص  ,  القول المخرج    ละคับบัง  มันคืออะไรอะ..อธิบายให้หน่อยจิ...อยากรู้อะ......

แล้วระหว่าง  القول المخرج  กับ  الوجه   ละคับ  มันต่างกันยังไงอะคับ....อธิบายให้หน่อย  ขอแบบชัดๆ นะคร้าบท่านคร้าบ...

ขอบคุณล่วงหน้าเด้อคับ บังๆ ทั้งหลาย

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
ถามต่อ...อย่าลืมตอบอันบนด้วยละ......

อิมามชาฟิอีย์นั้น  มีอยู่ 2 ทัศนะ คือ กอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก ) กับ ญะดีด ( ฟัตวาที่อียิปต์ ) .... ใช่ปะ.....
ดังนั้น  ญะดีด ( ฟัตวาที่อียิปต์ )  คือ  ทัศนะที่มีน้ำหนักมากกว่ากอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก ) นอกจากแค่บางมัสอะละฮฺ
ที่อัศฮาบุชชาฟิอีย์  เลือกตามฟัตวาของทัศนะที่กอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก )  แล้วไม่ทราบว่า  มัสอะละฮฺ ที่อัศฮาบุชชาฟิอีย์ 
เลือกตามฟัตวาของทัศนะที่กอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก ) นั้น  มีกี่มัสอะละฮฺอะคับ....แล้วมีเรื่องอะไรบ้างละคับ...ลองว่ามาจิ๊...................

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
 salam

คำว่า النصّ  (อันนัส - ตัวบท) ตามนัยยะที่อุลามาอ์มัซฮับชาฟิอีย์ได้นำมาใช้ในหนังสือฟิกห์ของพวกเขานั้น  หมายถึ  คำพูดของอิมามอัชชาฟิอีย์  ร่อฏิยัลลอฮุอันฮุ  การที่กล่าวว่า อันนัส นั้นเพราะเป็นคำกล่าวที่ยกอ้างไปยังอิมามชาฟิอีย์หรืออิมามชาฟิอีย์ได้กล่าวระบุเอาไว้  และส่วนมากจะสังเกตุได้ว่า  การคำกล่าว อันนัส นั้น จะอยู่พร้อมการกล่าวถึง มัสอะละฮ์(ประเด็นปัญหาหนึ่ง)ที่ฏออีฟหรืออยู่พร้อมกับ القول المخرَّج คำกล่าวที่ถูกวินิจฉัยขึ้นมาโดยได้มาจากการนำมาเปรียบเทียบความคล้ายคลึงกับคำกล่าวของอิมามอัชชาฟิอีย์

คำว่า المنصوص  (อัลมันศูส) คำกล่าวที่ถูกระบุตัวบทเอาไว้  ซึ่งมีความหมายที่ครอบคลุมยิ่งกว่าคำว่า  النص  หมายถึง  เป็นตัวบทระบุของท่านอิมามชาฟิอีย์เองหรือเป็นคำพูดของอิมามชาฟิอีย์เอง หรือคำกล่าวของอุลามาอ์มัซฮับชาฟิอีย์ที่ถูกวินิจฉัยมาจากหลักอุศูล(พื้นฐานนิติศาสตร์) หรือก่อวาอิด (กฏแห่งนิติศาสตร์)ของอิมามอัชชาฟิอีย์  ดังนั้น  เมื่อมัสอะละฮ์ใดที่มีระบุกำกับด้วยคำว่า المنصوص ถือว่าเป็นทัศนะที่มีน้ำหนัก (รอเญี๊ยะห์) หรือเป็นทัศนะที่ถูกยึดถือ (มั๊วะตะมัต)
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ GeT

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 453
  • اللهم اعط منفقا خلفا
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
([1]) الْوَجْهَانُ أَوْ الْأَوْجُهُ: لِأَصْحَابِ الشَّافِعِيِّ المُنْتَسِبِيْنَ لِـمَذْهَبِهِ؛ لِأَنَّهُمْ يُخَرِّجُوْنَهَا عَلَى أُصُوْلِهِ، وَيَسْتَنْبِطُونَهَا مِنْ قَوَاعِدِهِ، وَقَدْ يَجْتَهِدُونَ فِي بَعْضِهَا وَإِنْ لَمْ يَأْخُذُوهُ مِنْ أَصْلِهِ. [يُنظر: المجموع (1/66 وَمَا بَعْدَهَا)، مغني المحتاج (1/105 وَمَا بَعْدَهَا)، حاشية قليوبي (1/13 وَمَا بَعْدَهَا)].

([2]) الطَّرِيْقُ، وَالطُّرُقُ: هِيَ اخْتِلَافُ الْأَصْحَابِ فِي حِكَايَةِ الْمَذْهَبِ، كَأَنْ يَحْكِيَ بَعْضُهُمْ فِي الْمَسْأَلَةِ قَوْلَيْنِ أَوْ وَجْهَيْنِ لِمَنْ تَقَدَّمَ، وَيَقْطَعَ بَعْضُهُمْ بِأَحَدِهِمَا. قَالَ الرَّافِعِيُّ -فِي آخِرِ زَكَاةِ التِّجَارَةِ-: (وَقَدْ تُسَمَّى طُرُقُ الْأَصْحَابِ وُجُوهًا)، وَذَكَرَ مِثْلَهُ فِي مُقَدِّمَةِ الْمَجْمُوعِ (1/66) فَقَالَ: (وَقَدْ يَسْتَعْمِلُوْنَ الْوَجْهَيْنِ فِيْ مَوْضِعِ الطَّرِيقَيْنِ وَعَكْسِهِ). [يُنظر: المجموع (1/66)، مغني المحتاج (1/106)، نهاية المحتاج (1/49)، حاشية قليوبي (1/40)، حاشية عميرة (1/13)].

([3]) الْجَدِيدُ: مَا قَالَهُ الشَّافِعِيُّ بِمِصْرَ تَصْنِيفًا أَوْ إفْتَاءً، وَالْمَشْهُورُ مِنْ رُوَاتِهِ أَرْبَعَةٌ: الْمُزَنِيّ، وَالْبُوَيْطِيُّ، وَالرَّبِيعُ الْمُرَادِيُّ، وَالرَّبِيعُ الْجِيزِيُّ، وَمِنْهُمْ-أَيْضَاً-: حَرْمَلَةُ، وَيُونُسُ بْنُ عَبْدِالْأَعْلَى، وَعَبْدُاللَّهِ بْنُ الزُّبَيْرِ الْمَكِّيُّ، وَمُحَمَّدُ بْنُ عَبْدِ اللَّهِ بْنِ عَبْدِ الْحَكَمِ -الَّذِي قُبِرَ الشَّافِعِيُّ فِي بَيْتِهِ- وَقَدْ انْتَقَلَ أَخِيرًا إلَى مَذْهَبِ أَبِيهِ، وَهُوَ مَذْهَبُ مَالِكٍ، وَغَيْرُ هَؤُلَاءِ، وَالثَّلَاثَةُ الْأُوَلُ: هُمْ الَّذِينَ تَصَدَّوْا لِذَلِكَ وَقَامُوا بِهِ، وَالْبَاقُونَ نُقِلَتْ عَنْهُمْ أَشْيَاءُ مَحْصُورَةٌ عَلَى تَفَاوُتٍ بَيْنَهُمْ. [يُنظر: المجموع (1/66) وما بعدها، مغني المحتاج (1/108-109)، نهاية المحتاج (1/45)، حاشية عميرة (1/15)، حاشية قليوبي (1/15)].

([4]) الاخْتِيَارُ وَالمُخْتَارُ: مَا اسْتَنْبَطَهُ المُجْتَهِدُ بِاجْتِهَادِهِ مِنَ الأَدِلَّةِ الأُصُوْلِيَّةِ. [يُنظر: الخزائن السنية ص(183)، الفوائد المكية ص(43)].

([5]) الْقَدِيمُ: مَا قَالَهُ الشَّافِعِيُّ بِالْعِرَاقِ تَصْنِيفًا: وَهُوَ الْحُجَّةُ أَوْ أَفْتَى بِهِ، وَالْمَشْهُورُ مِنْ رُوَاتِهِ أَرْبَعَةٌ: الْإِمَامُ أَحْمَدُ بْنُ حَنْبَلٍ، وَالزَّعْفَرَانِيُّ، وَالْكَرَابِيسِيُّ، وَأَبُو ثَوْرٍ. وَقَدْ رَجَعَ الشَّافِعِيُّ عَنْهُ، وَقَالَ: لَا أَجْعَلُ فِي حِلٍّ مَنْ رَوَاهُ عَنِّي. وَقَالَ الْإِمَامُ: لَا يَحِلُّ عَدُّ الْقَدِيمِ مِنْ الْمَذْهَبِ، وَقَالَ الْمَاوَرْدِيُّ فِيْ الحَاوِيْ (9/452)-فِي أَثْنَاءِ كِتَابِ الصَّدَاقِ-:(وَالشَّافِعِيُّ غَيَّرَ جَمِيعَ كُتُبِهِ الْقَدِيمَةِ فِي الْجَدِيدِ وَصَنَّفَهَا ثَانِيَةً، إلَّا الصَّدَاقَ فَإِنَّهُ لَمْ يُغَيِّرْهُ فِيْ الجَدِيْدِ وَلا أَعَادَ تَصْنِيْفَهُ، وَإِنَّمَا ضَرَبَ عَلَى مَوَاضِعَ مِنْهُ وَزَادَ فِيْ مَوَاضِعَ). [يُنظر: المجموع (1/66) وما بعدها، مغني المحتاج (1/108-109)، نهاية المحتاج (1/45)، حاشية عميرة (1/15)، حاشية قليوبي (1/15)].

([6]) القَوْلانِ -أَوِ الأَقْوَالُ-: للإِمَامِ الشَّافِعِيِّ، ثُمَّ قَدْ يَكُوْنُ القَوْلانِ قَدِيْمَيْنِ، وَقْد يَكُوْنَانِ جَدِيْدَيْنِ، أَوْ قَدِيْمَاً وَجَدِيْدَاً، وَقَدْ يَقُوْلُهُـمَا فِيْ وَقْتٍ، وَقَدْ يَقُوْلُهُـمَا فِيْ وَقْتَيْنِ، وَقَدْ يُرَجِّحُ أَحَدَهُمَا، وَقَدْ لَا يُرَجِّحُ، فَالمُنْتَسِبُ لِمَذْهَبِ الشَّافِعِيِّ عَلَيْهِ العَمَلُ بِآخِرِ القَوْلَيْنِ إِنْ عَلِمَهُ، وَإِلاَّ فَبِالَّذِيْ رَجَّحَهُ الشَّافِعِيُّ، أَوْ بِالبَحْثِ عَنْ أَرْجَحِهِمَا، فَيَعْمَلُ بِهِ. وَمَنْ وَجَدَ خِلَافَاً بَيْنَ الأَصْحَابِ وَلَمْ يَكُنْ أَهْلاً للتَّرْجِيْحِ فَعَلِيْهِ أَحَدُ أَمْرَيْنِ:
إِمَّا اعْتِمَادُ مَا صَحَّحَهُ الأَكْثَرُ وَالأَعْلَمُ وَالأَوْرَعُ؛ فَإِنْ تَعَارَضَ الأَعْلَمُ وَالأَوْرَعُ قُدِّمَ الأَعْلَمُ.
وَإِمَّا اعْتِبَارُ صِفَاتِ النَّاقِلِيْنَ لِلْقَوْلَيْنِ؛ إِذْ مَا رَوَاهُ البُوَيْطِيُّ (ت: 231هـ) وَالرَّبِيْعُ المُرَادِيُّ (ت: 270هـ) وَالمُزَنِيُّ (ت: 264هـ) عَنِ الشَّافِعِيِّ مُقَدَّمَاً عِنْدَ الأَصْحَابِ عَلَى مَا رَوَاهُ الرَّبِيْعُ الجِيْزِيُّ (ت: 256هـ) وَحَرْمَلَةُ (ت: 243هـ). وَمِمَّا يُرَجَّحُ بِهِ أَحَدُ القَوْلَيْنِ: أَنْ يَكُوْنَ الشَّافِعِيُّ ذَكَرَهُ فِيْ بَابِهِ وَمَظِنَّتِهِ, وَذَكَرَ الآخَرَ فِيْ غَيْرِ بَابِهِ؛ كَأَنْ يَجْرِيَ بَحْثُهُ وَكَلَامٌ جَرَّ إِلَى ذِكْرِهِ؛ فَالَّذِيْ ذَكَرَهُ فِيْ بَابِهِ أَقْوَى؛ لأَنَّهُ أَتَى بِهِ مَقْصُوْدَاً وَقَرَّرَهُ فِيْ مَوْضِعِهِ بَعْدَ فِكْرٍ طَوِيْلٍ، بِخِلَافِ مَا ذَكَرَهُ فِيْ غَيْرِ بَابِهِ اسْتِطْرَادَاً؛ فَلَا يَعْتَنِيْ بِهِ اعْتِنَاءَ الأَوَّلِ, وَقَدْ صَرَّحَ الأَصْحَابُ بِمِثْلِ هَذَا التَّرْجِيْحِ فِيْ مَوَاضِعَ لَا تَنْحَصِرُ فِيْ المُهَذَّبِ. [يُنظر: بتصرف يسير من مقدمة النووي في المجموع (1/65-69)].

([7]) الصَّحِيحُ: يُعَبَّرُ بِهِ إِذَا ضَعُفَ الْخِلَافُ؛ الْمُشْعِرُ بِفَسَادِ مُقَابِلِهِ؛ لِضَعْفِ مَدْرَكِهِ، وَلَمْ يُعَبَّرْ بِذَلِكَ فِي الْأَقْوَالِ تَأَدُّبًا مَعَ الْإِمَامِ الشَّافِعِيِّ، قَالَ الرَّمْلِيُّ: (وَظَاهِرٌ أَنَّ الْمَشْهُورَ أَقْوَى مِنَ الْأَظْهَرِ، وَأَنَّ الصَّحِيحَ أَقْوَى مِنَ الْأَصَحِّ). [يُنظر: مغني المحتاج (1/106)، نهاية المحتاج (1/45-51)، حاشية قليوبي (1/15)].

([8]) التَّفْرِيْعُ: هُوَ أَنْ يَثْبُتَ لِمُتَعَلِّقٍ أَمْرُ حُكْمٍ بَعْدِ إِثْبَاتِهِ لِمُتَعَلِّقٍ لَهُ آخَرَ عَلَى وَجْهٍ يُشْعِرُ بِالتَّفْرِيْعِ وَالتَّعْقِيْبِ. [يُنظر: موسوعة كشاف اصطلاحات الفنون والعلوم (1/491)].

([9]) الْأَصَحُّ: يُعَبَّرُ بِهِ إِذَا قَوِيَ الْخِلَافُ؛ الْمُشْعِرُ بِصِحَّةِ مُقَابِلِهِ؛ لِقُوَّةِ مَدْرَكِهِ، وَفِيْ حَاشِيَةِ قَلْيُوْبِيْ (1/14): (وَاخْتُلِفَ فِي حُكْمِ الْمَأْخُوذِ مِنَ الْأَصَحِّ أَوْ الصَّحِيحِ أَيُّهُمَا أَقْوَى، فَقِيلَ: الْأَوَّلُ؛ وَعَلَيْهِ جَرَى شَيْخُنَا-الرَّمْلِيُّ- لِزِيَادَةِ قُوَّتِهِ، وَقِيلَ: الثَّانِي؛ لِأَنَّهُ قَرِيبٌ مِنَ الْمَقْطُوعِ بِهِ، وَعَلَيْهِ جَرَى بَعْضُهُمْ، وَهُوَ أَوَجْهُ، وَكَذَا يُقَالُ فِي الْأَظْهَرِ وَالْمَشْهُورِ). [يُنظر: مغني المحتاج (1/111)، نهاية المحتاج (1/45)].

([10]) حَيْثُ أُطْلِقَ الإِمَامُ فِيْ كُتُبِ الشَّافِعِيَّةِ؛ فَهُوَ: إِمَامُ الحَرَمَيْنِ أَبُوْ المَعَالِيْ، عَبْدُالمَلِكِ بْنُ عَبْدِاللهِ بْنِ يُوْسُفَ الجُوَيْنِيُّ، نِسْبَةً إِلَى جُوَيْنَ مِنْ نَوَاحِيْ نَيْسَابُوْر، (419-478هـ)، لَهُ: نِهَايَةُ المَطْلَبِ فِيْ دِرَايَةِ المَذْهَبِ، وَمُخْتَصَرُ نِهَايَةِ المَطْلَبِ، قَالَ عَنْهُ: (يَقَعُ فِيْ الحَجْمِ مِنَ النِّهَايَةِ أَقَلَّ مِنَ النِّصْفِ، وَفِيْ المَعْنَى أَكْثَرَ مِنَ الضِّعْفِ)؛ غَيْرَ أَنَّهُ لَمْ يُتِمَّهُ، قَالَ عَنْهُ ابْنُ السُّبْكِيِّ: (عَزِيْزُ الوُقُوْعِ، مِنْ مَحَاسِنِ كُتُبِهِ). [ يُنظر:طبقات الشافعية الكبرى (5/165-222)، طبقات الشافعية لابن قاضي شهبة (1/255-256)، وفيات الأعيان (3/167-170)، الفوائد المدنية ص(259)، الفوائد المكية ص(41)، ترشيح المستفيدين ص(6)، سلم المتعلم المحتاج ص(44)، الخزائن السنية ص(115)، ص(93)، (92)،].

([11]) الْمَشْهُورُ: يُعَبَّرُ بِهِ إِذَا ضَعُفَ الْخِلَافُ عَنِ أَحَدِ الْقَوْلَيْنِ أَوْ الْأَقْوَالِ الَّتِيْ لِلْإِمَامِ الشَّافِعِيِّ؛ لِضَعْفِ مَدْرَكِهِ، وَإِشْعَارَاً بِغَرَابَتِةِ عَلَى مُقَابِلِهِ. [يُنظر: مغني المحتاج (1/106)، نهاية المحتاج (1/45-48)، حاشية قليوبي (1/13-14].

([12]) الْمَذْهَبُ: مَا عُبِّرَ عَنْهُ بِالْمَذْهَبِ هُوَ الْمُفْتَى بِهِ، وَمِنْهُ يُعْلَمُ كَوْنُ الْخِلَافِ طُرُقًا، فَيَجُوزُ أَنْ يَكُونَ الْمُعَبَّرُ

عَنْهُ بِالْمَذْهَبِ أَحَدَ الْقَوْلَيْنِ أَوْ الْوَجْهَيْنِ. [يُنظر: مغني المحتاج (1/106)، حاشية قليوبي (1/14)].


([13]) الحَاصِلُ، وَحَاصِلُ الكَلامِ: عِبَارَةٌ تُسْتَخْدَمُ فِيْ تَفْصِيْلٍ بَعْدَ إِجْمَالٍ. [يُنظر: سلم المتعلم المحتاج ص(656)، الخزائن السنية ص(185)، الفوائد المكية ص(45)].

([14]) النَصُّ: مَا كَانَ مِنْ أَقْوَالِ الإِمَامِ الشَّافِعِيِّ -وَقَدْ صَرَّحَ بِهِ هُنَا-، وَهُوَ الرَّاجِحُ مِنَ الخِلافِ فِيْ المَذْهَبِ، وَمَا قَابَلَهُ وَجْهٌ ضَعِيْفٌ جِدَّاً، أَوْ قَوْلٌ مُخَرَّجٌ مِنْ نَصٍّ فِيْ نَظِيْرِ مَسْأَلَةٍ؛ فَلَا يُعْمَلُ بِهِ. وَسُمَّيَ مَا قَالَهُ نَصًّا؛ لِأَنَّهُ مَرْفُوعُ الْقَدْرِ لِتَنْصِيصِ الْإِمَامِ عَلَيْهِ؛ أَوْ لِأَنَّهُ مَرْفُوعٌ إلَى الْإِمَامِ، مِنْ قَوْلِكَ نَصَصْتُ الْحَدِيثَ إلَى فُلَانٍ: إذَا رَفَعْتَهُ إلَيْهِ.

* تَنْبِيْهٌ: وَهَذِهِ الصِّيغَةُ: (النَّصُّ)، بِخِلَافِ لَفْظِ: (الْمَنْصُوصِ)؛ فَقَدْ يُعَبَّرُ بِهِ عَنْ النَّصِّ وَعَنْ الْقَوْلِ وَعَنْ الْوَجْهِ فَالْمُرَادُ بِهِ حِينَئِذٍ الرَّاجِحُ عِنْدَهُ. [يُنظر: منهاج الطالبين ص(65)، مغني المحتاج (1/106-107)، نهاية المحتاج (1/45-49)، حاشية قليوبي (1/13-15)، سلم المتعلم المحتاج ص(644-645)، الابتهاج في بيان اصطلاح المنهاج ص(666)، الخزائن السنية ص(182)، الفوائد المكية ص(46)].


([15]) الْأَظْهَرُ: يُعَبَّرُ بِهِ إِذَا قَوِيَ الْخِلَافُ عَنِ أَحَدِ الْقَوْلَيْنِ أَوْ الْأَقْوَالِ الَّتِيْ لِلْإِمَامِ الشَّافِعِيِّ؛ لِقُوَّةٍ مَدْرَكِهِ، وَإِشْعَارَاً بِظُهُورِهِ عَلَى مُقَابِلِهِ. [يُنظر: مغني المحتاج (1/106)، نهاية المحتاج (1/45-49)، حاشية قليوبي (1/13-14)].

([16]) القَوْلُ المُخَرَّجُ: هُوَ القَوْلُ المُقَابَل بِنَصِّ الشَّافِعِيِّ، وَهُوَ مَا كَانَ مِنْ نَصٍّ لَهُ فِي نَظِيرِ الْمَسْأَلَةِ لَا يُعْمَلُ بِهِ وَكَيْفِيَّةُ التَّخْرِيجِ -كَمَا قَالَهُ الرَّافِعِيُّ فِي بَابِ التَّيَمُّمِ-: أَنْ يُجِيبَ الشَّافِعِيُّ بِحُكْمَيْنِ مُخْتَلِفَيْنِ فِي صُورَتَيْنِ مُتَشَابِهَتَيْنِ، وَلَمْ يُظْهِرْ مَا يَصْلُحُ لِلْفَرْقِ بَيْنَهُمَا، فَيَنْقُلُ الْأَصْحَابُ جَوَابَهُ فِي كُلِّ صُورَةٍ إلَى الْأُخْرَى، فَيَحْصُلُ فِي كُلِّ صُورَةٍ مِنْهُمَا قَوْلَانِ: مَنْصُوصٌ وَمُخَرَّجٌ، الْمَنْصُوصُ فِي هَذِهِ الْمُخَرَّجُ فِي تِلْكَ، وَالْمَنْصُوصُ فِي تِلْكَ هُوَ الْمُخَرَّجُ فِي هَذِهِ، فَيُقَالُ فِيهِمَا قَوْلَانِ بِالنَّقْلِ وَالتَّخْرِيجِ. وَالْغَالِبُ فِي مِثْلِ هَذَا عَدَمُ إطْبَاقِ الْأَصْحَابِ عَلَى التَّخْرِيجِ، بَلْ مِنْهُمْ مَنْ يُخَرِّجُ، وَمِنْهُمْ مَنْ يُبْدِي فَرْقًا بَيْنَ الصُّورَتَيْنِ. وَالْأَصَحُّ: أَنَّ الْقَوْلَ الْمُخَرَّجَ لَا يُنْسَبُ لِلشَّافِعِيِّ -إلَّا مُقَيَّدًا- ؛ لِأَنَّهُ رُبَّمَا رُوجِعَ فِيهِ، فَذَكَرَ فَارِقًا). [مغني المحتاج (1/107). ويُنظر: نهاية المحتاج (1/50)].

ออฟไลน์ vrallbrothers

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 498
  • ALLAH MAHA BESAR...
  • Respect: +9
    • ดูรายละเอียด
 salam

 myGreat:
ถึงจะงง ๆ เพราะไม่มีความรู้เลย แต่ก็พยายามอ่านเรื่อย ๆ
ตามที่อาจารย์อัลอัซฮารี ได้เคยบอกประมาณนี้ว่า ...เรามีหน้าที่ศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจนั้นมาจากอัลลอฮ์ ซุบฮานะฮุวะตะอาลา...
ผิดถูกประการใดอาจารย์ได้โปรดชี้แนะด้วยครับ  loveit:

 party:  party:  party:
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พ.ค. 02, 2008, 10:29 PM โดย vrallbrothers »


เวลาเปรียบเสมือนคมดาบ...หากท่านไม่ตัดมัน มันจะตัดท่าน



ยะฮูดีใช้ระเบิดฟอสฟอรัส... เลวร้าย ป่าเถื่อนยิ่งกว่าสัตว์เดรัจฉาน

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
โห..คุณ GeT   ยกมาเป็นดุ้นแบบนี้  ตายเลยพี่น้องเรา  ใครจะมานั่งแปลละนี่อะ.....

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
ถามต่อ...อย่าลืมตอบอันบนด้วยละ......

อิมามชาฟิอีย์นั้น  มีอยู่ 2 ทัศนะ คือ กอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก ) กับ ญะดีด ( ฟัตวาที่อียิปต์ ) .... ใช่ปะ.....
ดังนั้น  ญะดีด ( ฟัตวาที่อียิปต์ )  คือ  ทัศนะที่มีน้ำหนักมากกว่ากอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก ) นอกจากแค่บางมัสอะละฮฺ
ที่อัศฮาบุชชาฟิอีย์  เลือกตามฟัตวาของทัศนะที่กอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก )  แล้วไม่ทราบว่า  มัสอะละฮฺ ที่อัศฮาบุชชาฟิอีย์ 
เลือกตามฟัตวาของทัศนะที่กอดีม ( ฟัตวาที่อีรัก ) นั้น  มีกี่มัสอะละฮฺอะคับ....แล้วมีเรื่องอะไรบ้างละคับ...ลองว่ามาจิ๊...................



ไม่มีใครตอบเล๊ย...ตอบเองก็ได้  เชอะ ....

เมื่ออิมาม  ชาฟิอีย์  ได้กล่าวฟัตวา  2 ครั้ง ในมัสอะละฮฺหนึ่ง คือ กอดีม ( ฟัตวาเดิมที่อิรัก ) 
กับ ญะดีด ( ฟัตวาใหม่ที่อียิปต์ ) ดังนั้น ญะดีด  คือสิ่งที่ถูกต้องในการปฏบัติตาม  นอกจากเพียง
ไม่กี่มัสอะละฮฺที่ บรรดาสานุศิษย์ของชาฟิอีย์  ได้ฟัตวาตามทัศนะที่กอดีม ซึ่งผม
จะนำเสนอแล้วนะ..เตรียมอ่าน..

1. การตัดเล็บมัยยิด                                      ทัศนะกอดีมถือว่ามักโรฮฺ
2. การสัมผัสผู้ที่ห้ามแต่งงานด้วย                    ทัศนะกอดีมถือว่าไม่เสียน้ำละหมาด
3. การรีบละหมาดอีชาอฺเมื่อเข้าเวลา                ทัศนะกอดีมถือว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐกว่า
4. เวลาของละหมาดมักริบ                            ทัศนะกอดีมถือว่าให้ยืดเวลาออกไปจนกระทั่งแสงสีแดง
                                                              คล้อยลง ( غروب الشفق )

5. การกล่าวอามีนดังของมะอฺมูม ในละหมาดที่อ่านดัง  ทัศนะกอดีมถือว่าเป็นสุนัต
6. การอ่านซูเราะฮฺอื่นจากฟาตีหะฮฺ ใน 2 รอกาอัตสุดท้ายในละหมาด ทัศนะกอดีมถือว่าไม่ใช่สิ่งที่เป็นสุนัต
7. ผู้ที่เสียชีวิตในสภาพที่ขาดศีลอด            ทัศนะกอดีมถือว่าผู้ปกครองต้องถือศีลอดชดใช้แทน
8. التثويب في آذان الصبح // فالقديم استحبابه
9. التباعد عن النجاسة في الماء الكثير // القديم انه لا يشترط
10. أكل الجلد المدبوغ // القديم تحريمه
11. شرط التحلل من الإحرام بمرض ونحوه //القديم جوازه
12. الإستنجاء بالحجر فيما جاوز المخرج //القديم جازه
13. المنفرد إذا نوى الإقتداء في أثناء الصلاة // القديم جوازه
14. الخط بين يدي المصلي إذا لم تكن معه عصا // القديم استحبابه

ดูหนังสือ อัลมัจมั๊วะ โดย  อิมามนะวาวีย์  เล่มที่ 1 หน้าที่ 112 ....

ที่เหลือแปลเองมั้งนะ  เมื่อยมืออะคับ เหอะเหอะ....
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พ.ค. 02, 2008, 09:51 PM โดย al-fantazy »

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
ในการที่เราจะศึกษา ฟิกฮฺมัซฮับชาฟิอีย์  ให้ลึกซึ้งนั้น  จำเป็นที่เราจะต้องรู้จัก คำนิยามต่างๆ ในมัซฮับชาฟิอีย์ ก่อน
ซึ่งคำนิยามหลักๆ ในมัซหับชาฟิอีย์นั้น  ก็มีอยู่ 5 อย่างด้วยกันที่เรามักจะพบอยู่เสมอในหนังสือฟิกฮฺของมัซหับชาฟิอีย์   นั่นก็คือ....

1. القول أو الأقوال

2. الوجوه أو الأوجه

3. الطريق

4. القول المنصوص

5. القول المخرج

ในส่วนคำนิยามแรก    คือ القول أو الأقوال   ได้ถูกอธิบายไปแล้วก่อนหน้านี้

ในส่วนคำนิยามที่สอง  คือ  الوجوه أو الأوجه  ก็ถูกอธิบายไว้แล้วเช่นกันก่อนหน้านี้

แล้วคำนิยาม  الطريق  ,  القول المنصوص  ,  القول المخرج    ละคับบัง  มันคืออะไรอะ..อธิบายให้หน่อยจิ...อยากรู้อะ......

แล้วระหว่าง  القول المخرج  กับ  الوجه   ละคับ  มันต่างกันยังไงอะคับ....อธิบายให้หน่อย  ขอแบบชัดๆ นะคร้าบท่านคร้าบ...

ขอบคุณล่วงหน้าเด้อคับ บังๆ ทั้งหลาย




القول المنصوص   คือ   คำวินิจฉัยของอิมามชาฟิอีย์เองพร้อมหลักฐาน  ในตำราของท่านเอง  หรือเป็นสิ่งที่ถูกรายงานมา
จากอิมามชาฟิอีย์  ทั้งที่เป็นทัศนะที่กอดีม  ( ฟัตวาเก่าที่อิรัก )  และ ญะดีด ( ฟัตวาใหม่ทีอียิปต์ ) . ...จบข่าว...

القول المخرج      คือ  สิ่งที่สานุศิษย์ของอิมามชาฟิอีย์ที่ถึงในระดับอิจญ์ติฮาด ได้วินิจฉัยขึ้นตามแนวทางและหลักการ
ในมัซหับชาฟิอีย์นั่นเอง ....จบข่าวครั้งที่ 2 ...

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
แล้วระหว่าง  القول المخرج  กับ  الوجه   ละคับ  มันต่างกันยังไงอะคับ...ใครที่บอกได้ลองบอกหน่อยจิ๊.....

ออฟไลน์ นูรุ้ลอิสลาม

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1356
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
([13]) الحَاصِلُ، وَحَاصِلُ الكَلامِ: عِبَارَةٌ تُسْتَخْدَمُ فِيْ تَفْصِيْلٍ بَعْدَ إِجْمَالٍ. [يُنظر: سلم المتعلم المحتاج ص(656)، الخزائن السنية ص(185)، الفوائد المكية ص(45

อัลฮาซิล الحَاصِلُ،  หรือ ฮาซิลุลกะลาม وَحَاصِلُ الكَلامِ คือสำนวนหนึ่งที่ถูกนำมใช้ในการขยายความของฮุกุ่มหลังจากที่นำเสนอแบบสรุปมาก่อนหน้านั้น
لا إله إلا الله محمد رسول الله

ออฟไลน์ นูรุ้ลอิสลาม

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1356
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด

القول المنصوص   คือ   คำวินิจฉัยของอิมามชาฟิอีย์เองพร้อมหลักฐาน  ในตำราของท่านเอง  หรือเป็นสิ่งที่ถูกรายงานมา
จากอิมามชาฟิอีย์  ทั้งที่เป็นทัศนะที่กอดีม  ( ฟัตวาเก่าที่อิรัก )  และ ญะดีด ( ฟัตวาใหม่ทีอียิปต์ ) . ...จบข่าว...

القول المخرج      คือ  สิ่งที่สานุศิษย์ของอิมามชาฟิอีย์ที่ถึงในระดับอิจญ์ติฮาด ได้วินิจฉัยขึ้นตามแนวทางและหลักการ
ในมัซหับชาฟิอีย์นั่นเอง ....จบข่าวครั้งที่ 2 ...


      คืออย่างนี้ครับ ขอเพิ่มเติมหน่อย  القول المخرج      คือ  การที่อุลามาอ์มัซฮับอิมามชาฟิอีย์ได้ทำการวินิจฉัยประเด็นปัญหา (มัสอะละฮ์) หนึ่งขึ้นโดยที่อิมามชาฟิอีย์ไม่ได้กล่าวระบุเอาไว้ ( النص )  แต่ทว่าอุลามาอ์อัชชาฟิอีย์ได้ไปเจอคำกล่าวของอิมามชาฟิอีย์ที่มีฮุกุ่มคล้ายๆ กับประเด็นปัญหาที่เพิ่งเกิดขึ้นมาใหม่  แล้วอุลามาอ์มัซฮับชาฟิอีก็นำหลักการของฮุกุ่มที่คล้ายคลึงออกมา  แล้วนำมาเทียบเคียงความคล้ายคลึงกับฮุกุ่มที่อิมามชาฟิอีย์ได้กล่าวไว้ นั่นแหละเขาเรียกว่า القول المخرج   (ทัศนะคำกล่าวที่ถูกนำเสนอหลักการออกมาจากคำพูดของอิมามชาฟิอีที่คล้ายคลึงกัน)

     หากถามข้อแย่งแยกระหว่างทั้งสอง  ก็คือ القول المنصوص  คือคำกล่าวของอิมามชาฟิอีย์โดยตรง  ส่วน القول المخرج  คือคำกล่าวโดยอ้อมเชิงหลักการไปที่พาดพิงไปยังการวินิจฉัยของอิมามชาฟิอีย์ 
لا إله إلا الله محمد رسول الله

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
แล้วระหว่าง  القول المخرج  กับ  الوجه   ละคับ  มันต่างกันยังไงอะคับ...ใครที่บอกได้ลองบอกหน่อยจิ๊.....

คำว่า الوجه  คือคำกล่าวของอัศฮาบ(สานุศิษย์)ที่วินิจฉัยจากมาจากหลักอุศูล(หลักพื้นฐานนิติศาสตร์)และกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ของท่านอิมามอัชชาฟิอีย์

คำว่า  القول المخرّج  คือคำกล่าวของอัศฮาบที่เอามาจากการเปรียบเทียบความคล้ายคลึงของมัสอะละฮ์หนึ่งที่อิมามชาฟิอีย์ไม่ได้เคยกล่าวไว้ไปเทียบความคล้ายคลึงของหลักการกับอีกมัสอะละฮ์หนึ่งที่อิมามชาฟิอีย์
ได้เคยกล่าวระบุไว้

ดังนั้น  มัสอะละฮ์ที่ได้มาจากการวินิจฉัยจากหลักอุศุลกับมัสอะละฮ์ที่ได้มาจากการเทียบหลักการที่คล้ายกับอีกมัสอะละฮ์หนึ่งนั้น  ย่อมต่างกัน

วัลลอฮะลัม
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
 salam

คำว่า الجَزْمُ  หรือคำว่า جَزَمَ  (เด็ดขาด)  หมายถึง  ประเด็นนั้นไม่รู้ว่ามีการขัดแย้งกันเลย 
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ almadany

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 346
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
อัสลามุอะไลกุ้ม...

กระทู้นี้มีประโยชน์มากๆ...อ่านหนังสือฟิกห์มัซฮับชาฟีอีมาก็พอควร...แต่บางทีเราแปลศัพท์กันตรง...โดยไม่ทราบถึงศัพท์เทคนิคของมัน...

 

GoogleTagged