ผู้เขียน หัวข้อ: อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة  (อ่าน 5967 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ มุคลิศ

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 159
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة
« เมื่อ: ก.ค. 20, 2008, 03:42 AM »
0

สลามุนอะลัยกุ้มครับ

พอดีได้ไปอ่านหนังสือของท่าน อิมาม อัซซัยยิด มุฮัมมัด อะลาวีย์ อัลฮะซะนี  ท่านได้กล่าวไว้ในตอนหนึ่งว่า

تأويل بتعطيل النص الواضح

ولقد حاول البعض التخلص مما تضمنه حديث: (من سنَّ سنة حَسنة.. ومن سنَّ سنة سيئة) الذي يدل بوضوح على تقسيم الأمر المحدث إلى مقبول ومردود أو على حسن وسيء، فراح يفسر الحديث بما لا ينطبق على ألفاظه إذ قال: إن قوله: (سن في الإسلام) يعني: أحيا سنة وأظهرها وأبرزها مما قد يخفى على الناس فيدعو إليها ويظهرها ويبينها، وقال: فعلم بذلك أن المقصود من الحديث إحياء السنة وإظهارها.

فها أنت ترى أن قوله هذا فيه تأويل واضح لا شك فيه لحديث (من سنَّ سُنة....) وقضاء على منطوقه ومفهومه، وهدم لمعانيه وألفاظه التي تدل في صراحة ووضوح على الحث على إنشاء سنن الخير ، وفتح الباب أمام العاملين وتأصيل العادات الحسنة والطرق الجديدة المستحسنة التي تدخل تحت لواء الشريعة الإسلامية، وتندرج تحت قواعده الكلية، ولا تعارض شيئًا من الأصول الثابتة التي لا تحتمل التأويل.

إحياء السنة أصل مستقل

على أنه قد ورد في الحث على إحياء السنة المهجورة أحاديث بهذا المعنى تدل بمنطوقها ومفهومها على هذا الموضوع فمنها:
عن أبي هريرة رضي الله عنه عن النبي صلى الله عليه وسلم قال: (من دعا إلى هدى كان له من الأجر مثل أجور من تبعه لا ينقص ذلك من أجورهم شيئًا، ومن دعا إلى ضلالة كان عليه من الإثم مثل آثام من تبعه لا ينقص ذلك من آثامهم شيئًا) رواه مسلم.وعن أبي مسعود الأنصاري رضي الله عنه عن النبي صلى الله عليه وسلم قال: (من دلَّ على خير فله مثل أَجر فاعِله).
وعن كثير بن عبد الله عن أبيه عن جده قال: سمعت رسول الله صلى الله عليه وسلم يقول: (من أحيا سنة من سنتي قد أميتت بعدي فإن له من الأجر مثل من عمل بها من غير أن ينقص من أجورهم شيئًا، ومن ابتدع بدعة ضلالة لا تُرضى الله ورسوله كان عليه مثل آثام من عمل بها لا يَنقص ذلك من أوزار الناس شيئًا) رواه الترمذي وحسنه وابن ماجه.
فهذه الأحاديث تدل على فتح الباب لإنشاء سنن الخير، والفرق ظاهر بين إنشاء السنن وبين إحيائها.
وزعم بعض آخر المراد بالسنة في الحديث ما سنه رسول الله صلى لله عليه وسلم وخلفاؤه الراشدين، دون المحدثات من سنن الخير التي لم تكن في عهده صلى الله عليه وسلم ولا في عهد الخلفاء الراشدين، بينما الحديث واضح في تحبيذ ابتداء سنن الخير دون قصر على أهل قرن بعينه، فقصر المحدث على محدث الخلفاء الراشدين تقييد للحديث بدون دليل.
وزعم بعض ثالث بأن المراد بالسنة الحسنة ما يخترعه الناس من أمور الدنيا وطرق المنافع، وبالسنة السيئة ما يخترعوه من طرق المضار والشرور، وقصرهم للمحدث المقبول على ما يتعلق بأمور الدنيا فقط هو من باب تخصيص الحديث بدون مخصص، وظاهر المراد منه أن كل أمر مبتدأ من غير مثال من أمور الدنيا أو أمور الدين مما يشمله الحديث.

وخلاصة القول:

أنه ليس العبرة في عدم قبول المحدث هو عدم سبق فعله، وإنما العبرة في رده هو أن يصادم نصًا أو أصلاً من أصول الشريعة وقواعد الاستنباط، وبهذه المعارضة يكون ليس من شرعه صلى الله عليه وسلم وعلى خلاف منهج تشريعه، وهذا هو بدعة الضلالة التي قد أصبحت حقيقة شرعية فيما يصادم النصوص والأصول، وهي مذمومة كلها بحسب ما استعملت فيه شرعًا

ขอพี่น้องผู้รู้ในเว็บนี้ช่วยกันแปลคนละเล็กคนละน้อยครับเพื่อพี่น้องจะได้ความเข้าใจยิ่งขึ้น

ออฟไลน์ ILHAM

  • เพื่อนตาย T_T
  • *****
  • กระทู้: 11348
  • เพศ: ชาย
  • Sherlock Holmes
  • Respect: +273
    • ดูรายละเอียด
    • ILHAM
Re: อธิบายฮะดิษ ?? ???? ????
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: ส.ค. 03, 2008, 02:03 AM »
0
แปลอีกแล้วหรือนี่
إن شاءالله ติด ENT'?everybody

Sherlock Holmes said "How often have I said to you that when you have eliminated the impossible, whatever remains, however improbable, must be the truth?"
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
Re: อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: ก.ย. 21, 2008, 03:28 AM »
0
 salam

ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) กล่าวว่า

من ‏مَنْ سَنَّ فِي الْإِسْلَامِ سُنَّةً حَسَنَةً فَعُمِلَ بِهَا بَعْدَهُ كُتِبَ لَهُ مِثْلُ أَجْرِ مَنْ عَمِلَ بِهَا وَلَا يَنْقُصُ مِنْ أُجُورِهِمْ شَيْءٌ وَمَنْ سَنَّ فِي الْإِسْلَامِ سُنَّةً سَيِّئَةً فَعُمِلَ بِهَا بَعْدَهُ كُتِبَ عَلَيْهِ مِثْلُ وِزْرِ مَنْ عَمِلَ بِهَا وَلَا يَنْقُصُ مِنْ أَوْزَارِهِمْ شَيْءٌ

" ผู้ใด ที่ได้ริเริ่มทำขึ้นมา ในอิสลาม กับหนทางที่ดี แน่นอน เขาจะได้รับผลบุญและได้รับผลบุญของผู้ที่ได้ปฏิบัติตามหลังจากเขาได้(เสียชีวิตไปแล้ว) โดยไม่มีสิ่งบกพร่องลงเลย จากผลบุญของพวกเขา และผู้ใด ทีได้ริเริ่มทำขึ้นมา ในอิสลาม กับหนทางที่เลว แน่นอน บาปของมันก็ตกบนเขา และบาปของผู้ที่ปฏิบัติมัน หลังจากเขา(เสียชีวิตไปแล้วก็ตกบนเขา) โดยไม่มีสิ่งใดบกพร่องลงไปเลย จากบรรดาบาปของพวกเขา" (รายงานโดย ท่านอิมาม มุสลิม ไว้ในซอเฮี๊ยะหฺของท่าน หะดิษที่1017)

แต่กลุ่มอัลวะฮาบีย์พยายามฝืนอธิบายฮะดิษ  (من سن في الإسلام سنة حسنة...)ว่า  มันคือ أحيا (ฟื้นฟูซุนนะฮ์นบี) “ผู้ใดที่ฟื้นฟูซุนนะฮ์ที่ดีในอิสลาม” แต่ถ้าหากเราถามชาววะฮาบีย์ว่า  อะไรคือจุดมุ่งหมายของตัวบทฮะดิษส่วนที่เหลือที่มีความว่า  (من سن في الإسلام سنة سيئة)”ผู้ใดฟื้นฟูซุนนะฮ์นบีที่เลวในอิสลาม” ดังนั้นหากคำว่า سَنَّ “หมายถึงการฟื้นฟู”  แสดงว่าท่านนบีมีซุนนะฮ์ที่เลวซึ่งจำเป็นที่เราจะต้องไม่ฟื้นฟูมันขึ้นมากระนั้นหรือ?!

แต่ท่านชัยค์อิบนุตัยมียะฮ์ อุลามาอ์ใหญ่ของวะฮาบีย์ได้อธิบายความหมายของ سَنَّ  ว่า “คือการริเริ่มกระทำขึ้นมา” ซึ่งเป็นความหมายที่ซอฮิห์ถูกต้องโดยขัดแย้งกับการอธิบายบิดเบือนในเชิงภาษาของวะฮาบีย์

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า

ومنها ما يتولد عن فعل الإنسان كالداعى إلى هدى أو إلى ضلالة والسان سنة حسنة وسنة سيئة كما ثبت فى الصحيحين عن النبى أنه قال ( من دعا إلى هدى كان له من الأجر مثل أجور من تبعه من غير أن ينقص من أجورهم شىء ومن دعا إلى ضلالة كان عليه من الوزر مثل أوزار من تبعه من غير أن ينقص أوزارهم شىء ( وثبت عنه فى الصحيحين أنه قال ( من سن سنة حسنة كان له أجرها وأجر من عمل بها إلى يوم القيامة من غير أن ينقص من أجورهم شىء

"และส่วนหนึ่งจากการมีเจตนาที่มั่นใจ  คือสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากการกระทำของมนุษย์  เช่น  ผู้ที่เชิญชวนไปสู่ทางนำและไปสู่ความลุ่มหลง  และเช่นผู้ที่ริเริ่มแนวทางที่ดีหรือแนวทางที่ไม่ดี  เช่นฮะดิษที่ยืนยันไว้ในซอฮิห์บุคอรีย์และมุสลิม  จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม  "ผู้ใดที่เรียกร้องไปสู่ทางนำ แน่นอน ย่อมมีผลตอบแทนแก่เขา เหมือน บรรดาการตอบแทนของผู้ที่เจริญตาม โดยดังกล่าวนั้น จะไม่บั่นทอนผลบุญของพวกเขาแม้แต่เพียงเล็กน้อย และผู้ใดที่เรียกร้องไปสู่ความหลงผิด แน่นอน เขาย่อมได้รับบาป เหมือนกับบรรดาบาปของผู้กระทำตาม โดยที่บาปดังกล่าวนั้น จะไม่ถูกบั่นทอนลงแม้แต่เพียงน้อยนิด"   และฮะดิษบุคอรีและมุสลิมที่ยืนยันจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม  ซึ่งท่านกล่าวว่า "ผู้ใด ที่ได้ทำขึ้นมา ในอิสลาม กับหนทางที่ดี แน่นอน เขาจะได้รับผลบุญและได้รับผลบุญของผู้ที่ได้ปฏิบัติตามหลังจากเขาได้(เสียชีวิตไปแล้ว) โดยไม่มีสิ่งบกพร่องลงเลย จากผลบุญของพวกเขา" 

http://arabic.islamicweb.com/Books/Taimiya.asp?book=77&id=145

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า

وكذلك ( الداعى إلى الهدى والضلالة ( لما كانت إرادته جازمة كاملة فى هدى الأتباع وضلالهم وأتى من الإعانة على ذلك بما يقدر عليه كان بمنزلة العامل الكامل فله من الجزاء مثل جزاء كل من إتبعه للهادى مثل أجور المهتدين وللمضل مثل أوزار الضالين وكذلك السان سنة حسنة وسنة سيئة فإن السنة هى ما رسم للتحرى فإن السان كامل الإرادة لكل ما يفعل من ذلك وفعله بحسب قدرته
ومن هذا قوله فى الحديث المتفق عليه عن إبن مسعود عن النبى أنه قال ( لا تقتل نفس ظلما إلا كان على بن آدم الأول كفل من دمها لأنه أول من سن القتل فالكفل النصيب مثل القاتل)

"และเช่นเดียวกัน  ผู้ที่เชิญชวนไปยังทางนำหรือความลุ่มหลง  ในขณะที่เจตนาของเขามีความมั่นใจอีกทั้งสมบูรณ์ในการชี้นำผู้เจริญรอยตามและสร้างความลุ่มหลงแก่ผู้ที่ตาม  และเขาได้นำมาซึ่งการให้ความช่วยเหลือต่อสิ่งดังกล่าวด้วยสิ่งที่เขามีความสามารถ  แน่นอนว่าเขาก็อยู่ในฐานะของผู้ที่ทำการปฏิบัติอย่างสมบูรณ์  ดังนั้น  สำหรับเขาก็จะได้การตอบแทนเสมือนกับการตอบแทนของทุก ๆ คนที่เจริญรอยตามเขา  ให้กับผู้ที่ชี้นำ(เขาจะได้รับผลการตอบแทน) เหมือนกับผลการตอบแทนของผู้ที่ได้รับการชี้นำ  และให้กับผู้ที่ทำให้ลุ่มหลง(ก็จะได้รับผลการตอบแทน)เหมือนกับผลบาปของผู้ที่ลุ่มหลง  และเฉกเช่นเดียวกัน ผู้ที่ริ่เริ่มแนวทางที่ดีและแนวทางที่ไม่ดี  เพราะแท้จริงแนวทาง(อัซซุนนะฮ์)นั้นคือสิ่งที่ถูกวางขึ้นมาเพื่อมีเป้าหมาย  ดังนั้นผู้ที่เริ่มแนวทางโดยเป็นผู้มีเจตนาสมบูรณ์ให้กับทุกสิ่งที่เขาได้กระทำจากสิ่งดังกล่าวและการกระทำของเขาก็ตามความสามารถของเขา  และจากดังกล่าวนี้  ก็มีคำกล่าวของท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม  ในฮะดิษบุคอรีและมุสลิม  รายงานจากท่านอิบนุมัสอูด  จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ว่า  "ชีวิตหนึ่งจะไม่ถูกฆ่าโดยอธรรมนอกจากบนบุตรคนแรกของอาดัมจะมีส่วนได้รับ(เหมือนกับเป็นคนฆาตกร)จากเลือดชีวิตนั้น(ได้หลั่งออกมาเนื่องจากถูกฆ่า)  เนื่องจากเขาเป็นบุคคลแรกที่ได้ริเริ่ม(วางแนวทาง)การฆ่า"

http://arabic.islamicweb.com/Books/Taimiya.asp?book=77&id=146

http://arabic.islamicweb.com/Books/Taimiya.asp?book=77&id=147

และท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวเช่นกันว่า

ولهذا كان المبتدئ بالخير والشر له مثل من تبعه من الأجر والوز كما قال النبى ( من سن سنة حسنة فله أجرها وأجر من عمل بها الى يوم القيامة من غير أن ينقص من أجورهم شيئا ومن سن سنة سيئة فعليه وزرها ووزر من عمل بها الى يوم القيامة من غير أن ينقص من أوزارهم شيئا ( وذلك لاشتراكهم فى الحقيقة وان حكم الشئ حكم نظيره وشبه الشئ منجذب اليه
 
"และด้วยเหตุดังกล่าวนี้  ผู้ที่ริเริ่มกระทำความดีงามและความชั่ว  ให้กับเขาก็จะได้รับการตอบแทนและบาปเหมือนกับผู้ที่ตามเขา  ดังคำกล่าวของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมที่ว่า " ผู้ใด ที่ได้ริเริ่มทำขึ้นมา ในอิสลาม กับหนทางที่ดี แน่นอน เขาจะได้รับผลบุญและได้รับผลบุญของผู้ที่ได้ปฏิบัติตามหลังจากเขาได้(เสียชีวิตไปแล้ว) โดยไม่มีสิ่งบกพร่องลงเลย จากผลบุญของพวกเขา และผู้ใด ทีได้ริเริ่มทำขึ้นมา ในอิสลาม กับหนทางที่เลว แน่นอน บาปของมันก็ตกบนเขา และบาปของผู้ที่ปฏิบัติมัน หลังจากเขา(เสียชีวิตไปแล้วก็ตกบนเขา) โดยไม่มีสิ่งใดบกพร่องลงไปเลย จากบรรดาบาปของพวกเขา"

http://arabic.islamicweb.com/Books/taimiya.asp?book=28&id=721

มุสลิมได้รายงานจากอับดุลลอฮ์ อิบนุ มัสอูด  ความว่า

قَالَ رَسُولُ اللَّهِ ‏ ‏صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ‏ ‏لَا تُقْتَلُ نَفْسٌ ظُلْمًا إِلَّا كَانَ عَلَى ابْنِ ‏ ‏ آدَمَ ‏ ‏ الْأَوَّلِ ‏ ‏ كِفْلٌ ‏ ‏مِنْ دَمِهَا لِأَنَّهُ كَانَ أَوَّلَ مَنْ ‏ ‏ سَنَّ ‏ ‏ الْقَتْلَ

"ชีวิตหนึ่งจะไม่ถูกฆ่าโดยอธรรมนอกจากบนบุตรคนแรกของอาดัมจะมีส่วนได้รับ(เหมือนกับเป็นคนฆาตกร)จากเลือดชีวิตนั้น(ได้หลั่งออกมาเนื่องจากถูกฆ่า)  เนื่องจากเขาเป็นบุคคลแรกที่ได้ริเริ่ม(วางแนวทาง)การฆ่า" ฮะดิษลำดับที่ (3177)
ท่านอิมามอันนะวาวีย์ได้กล่าวอธิบายว่า

وَهَذَا الْحَدِيث مِنْ قَوَاعِد الْإِسْلَام , وَهُوَ : أَنَّ كُلّ مَنْ اِبْتَدَعَ شَيْئًا مِنْ الشَّرّ كَانَ عَلَيْهِ مِثْل وِزْر كُلّ مَنْ اِقْتَدَى بِهِ فِي ذَلِكَ الْعَمَل مِثْل عَمَله إِلَى يَوْم الْقِيَامَة , وَمِثْله مَنْ اِبْتَدَعَ شَيْئًا مِنْ الْخَيْر كَانَ لَهُ مِثْل أَجْر كُلّ مَنْ يَعْمَل بِهِ إِلَى يَوْم الْقِيَامَة , وَهُوَ مُوَافِق لِلْحَدِيثِ الصَّحِيح : " مَنْ سَنَّ سُنَّة حَسَنَة وَمَنْ سَنَّ سُنَّة سَيِّئَة"... وَاللَّهُ أَعْلَم

“ฮะดิษนี้เป็นส่วนหนึ่งจากหลักการของอิสลาม  กล่าวคือ  “แท้จริงทุก ๆ ผู้ที่อุตริริเริ่มสิ่งหนึ่งจากความชั่ว  แน่นอนบนเขาก็จะได้รับเหมือนกับความชั่วของทุก ๆ ผู้ที่กระทำตามเขาในการกระทำดังกล่าวเหมือนกับการกระทำของเขาจนทั่งถึงวันกิยามะฮ์  และเช่นเดียวกับผู้ที่ริเริ่มทำความชั่ว  ก็คือผู้ที่อุตริริเริ่มสิ่งหนึ่งจากความดีงาม  แน่นอนเขาก็จะได้รับเหมือนกับการตอบแทน(ความดีงาม)ของผู้ที่ปฏิบัติตามเขาจนกระทั่งถึงวันกิยามะฮ์”  และฮะดิษนี้ก็สอดคล้องกับฮะดิษซอฮิห์ที่ว่า  “ผู้ใดที่ริเริ่มวางแนวทางที่ดีและผู้ใดที่ริเริ่มวางแนวทางที่ชั่ว”  ชัรหฺซอฮิห์มุสลิม

วัลลอฮุอะลัม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ก.ค. 17, 2009, 09:33 AM โดย al-azhary »
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ นูรุ้ลอิสลาม

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1356
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: ก.ย. 21, 2008, 08:38 PM »
0
อัสลามุอะลัยกุ้มฯ

       ฮะดิษมีความชัดเจนแล้วว่า  บิดอะฮ์นั้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท  คือสิ่งที่เกิดขึ้นมาใหม่ที่ดี  และ สิ่งที่เกิดขึ้นมาใหม่ที่ไม่ดี   

       ดังนั้นคำว่า سنَّ  ในตัวบทฮะดิษนี้  ท่านอิมามอันนะวาวีอธิบายว่ามันคือความหมาย  إبتدع  "การอุตริทำขึ้นมาใหม่"  หรือความหมายที่ว่า إبتدء  "ริเริ่มทำขึ้นมา"  แม้กระทั่งอุลามาอฺใหญ่ที่วะฮาบีนับถืออย่างเช่นท่านอิบนุตัยมียะฮ์ยังให้ความหมายว่า  إبتدء  "ริเริ่มทำขึ้นมา"   

       ส่วนวะฮาบีปัจจุบันพยายามให้ความหมาย  سنَّ  ในตัวบทฮะดิษนี้ว่า  أحيا  "การฟื้นฟู"  ถือว่าเป็นการอธิบายที่บิดเบือนภาษาอาหรับ  เป็นการฝืนอธิบายเพื่อหนีจากการแบ่งบิดอะฮ์เป็น 2 ประเภท  แต่หนีอย่างไรก็หนีไม่พ้นความถูกต้องไปได้หรอกครับ

       ดังนั้น  มีอาจารย์วะฮาบีบางคนบอกว่า นบีไม่ได้แบ่งบิดอะฮ์นั้น  ถือว่าเป็นความหนีความจริงนั่นเอง
لا إله إلا الله محمد رسول الله

ออฟไลน์ นูรุ้ลอิสลาม

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1356
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: ก.ย. 23, 2008, 02:41 PM »
0
สลามุนอะลัยกุ้มครับ

พอดีได้ไปอ่านหนังสือของท่าน อิมาม อัซซัยยิด มุฮัมมัด อะลาวีย์ อัลฮะซะนี  ท่านได้กล่าวไว้ในตอนหนึ่งว่า

تأويل بتعطيل النص الواضح

ولقد حاول البعض التخلص مما تضمنه حديث: (من سنَّ سنة حَسنة.. ومن سنَّ سنة سيئة) الذي يدل بوضوح على تقسيم الأمر المحدث إلى مقبول ومردود أو على حسن وسيء، فراح يفسر الحديث بما لا ينطبق على ألفاظه إذ قال: إن قوله: (سن في الإسلام) يعني: أحيا سنة وأظهرها وأبرزها مما قد يخفى على الناس فيدعو إليها ويظهرها ويبينها، وقال: فعلم بذلك أن المقصود من الحديث إحياء السنة وإظهارها.

فها أنت ترى أن قوله هذا فيه تأويل واضح لا شك فيه لحديث (من سنَّ سُنة....) وقضاء على منطوقه ومفهومه، وهدم لمعانيه وألفاظه التي تدل في صراحة ووضوح على الحث على إنشاء سنن الخير ، وفتح الباب أمام العاملين وتأصيل العادات الحسنة والطرق الجديدة المستحسنة التي تدخل تحت لواء الشريعة الإسلامية، وتندرج تحت قواعده الكلية، ولا تعارض شيئًا من الأصول الثابتة التي لا تحتمل التأويل.


       การตีความด้วยการทำให้ตัวบทที่ชัดเจนเกิดชะงักงัน

       แท้จริงคนบางส่วน(คือวะฮาบี)พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่ฮะดิษ  (من سنَّ سنة حَسنة.. ومن سنَّ سنة سيئة)  ได้ผนวกเนื้อหาไว้นั้นซึ่งบ่งชี้ชัดเจนถึงการแบ่งสิ่งที่เกิดขึ้นมาใหม่เป็นสิ่งที่ถูกตอบรับและสิ่งเกิดใหม่ที่ถูกปฏิเสธ  หรือแบ่งออกเป็นสิ่งที่เกิดใหม่ที่ดีและไม่ดี  แต่บางกลุ่มนั้นยังคงอธิบายฮะดิษด้วยกับความหมายที่ไม่สอดคล้องกับถ้อยคำฮะดิษ  เนื่องจากบางกลุ่มเขากล่าวว่า คำกล่าวของร่อซูลที่ว่า  (سن في الإسلام) หมายถึงการฟื้นฟูซุนนะฮ์  หรือเผยให้ปรากฏซึ่งซุนนะฮ์จากสิ่งที่ยังซ่อนเร้นจากผู้คนทั้งหลาย  ดังนั้นเขาก็ทำการเรียกร้อง  เปิดเผย  และอธิบายกับซุนนะฮ์  บางกลุ่มจึงกล่าวว่า  เป้าหมายของฮะดิษคือการฟื้นฟูซุนนะฮ์และสำแดงให้ทราบถึงซุนนะฮ์

       ดังนั้นท่านจะเห็นว่าเพราะคำกล่าวของบางกลุ่มเกี่ยวกับฮะดิษนี้เป็นแค่การตีความที่โดยแท้อย่างมิต้องสงสัยที่มีต่อฮะดิษ (من سنَّ سُنة....) และเป็นทำลายถ้อยคำและความเข้าใจของฮะดิษ  และเป็นการทำลายบรรดาความหมายและถ้อยคำฮะดิษ   ที่บ่งชี้ชัดเจนในการส่งเสริมให้ดำริสร้างบรรดาแนวทางที่ดี  และเปิดประตูต่อเบื้องหน้าแด่บรรดาผู้ปฏิบัติอะมัล  เป็นการวางรากฐานประเพณีที่ดีงาม  วิธีการใหม่ๆ ที่ดีที่เข้าอยู่ภายใต้ร่มธงชาริอัตอิสลาม  และอยู่ภายใต้หลักการอิสลามโดยรวม  และไม่คัดค้านสิ่งหนึ่งสิ่งใดจากรากฐานของศาสนาที่แน่นอนที่ไม่รับการตีความ
لا إله إلا الله محمد رسول الله

ออฟไลน์ Al Fatoni

  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 4905
  • เพศ: ชาย
  • จงอยู่กับความจริงแล้วจะไม่หลง
  • Respect: +76
    • ดูรายละเอียด
Re: อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: ก.ย. 23, 2008, 05:46 PM »
0
ดีมากเลยครับ ที่มีการอธิบายหดีษนี้ เพราะผมอ่านเจอในหนังสือเล่มหนึ่งกล่าวว่า หดีษบทนี้แหละที่ท่านอิมามอัชชาฟิอีย์ ได้แบ่งบิดอะฮ์ออกเป็น 2 ประเภทนั่นก็คือ บิดอะฮฺที่ดี และบิดอะฮ์ที่เลว วัลลอฮุอะอฺลัม  วัสสลามุ อลัยกุม
ท่านขนขวายอะไร ท่านก็จะได้สิ่งนั้น - วัลลอฮุอะอฺลัม

ออฟไลน์ นูรุ้ลอิสลาม

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1356
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: ก.ย. 23, 2008, 10:17 PM »
0

إحياء السنة أصل مستقل

على أنه قد ورد في الحث على إحياء السنة المهجورة أحاديث بهذا المعنى تدل بمنطوقها ومفهومها على هذا الموضوع فمنها:
عن أبي هريرة رضي الله عنه عن النبي صلى الله عليه وسلم قال: (من دعا إلى هدى كان له من الأجر مثل أجور من تبعه لا ينقص ذلك من أجورهم شيئًا، ومن دعا إلى ضلالة كان عليه من الإثم مثل آثام من تبعه لا ينقص ذلك من آثامهم شيئًا) رواه مسلم.وعن أبي مسعود الأنصاري رضي الله عنه عن النبي صلى الله عليه وسلم قال: (من دلَّ على خير فله مثل أَجر فاعِله).
وعن كثير بن عبد الله عن أبيه عن جده قال: سمعت رسول الله صلى الله عليه وسلم يقول: (من أحيا سنة من سنتي قد أميتت بعدي فإن له من الأجر مثل من عمل بها من غير أن ينقص من أجورهم شيئًا، ومن ابتدع بدعة ضلالة لا تُرضى الله ورسوله كان عليه مثل آثام من عمل بها لا يَنقص ذلك من أوزار الناس شيئًا) رواه الترمذي وحسنه وابن ماجه.

فهذه الأحاديث تدل على فتح الباب لإنشاء سنن الخير، والفرق ظاهر بين إنشاء السنن وبين إحيائها.


การฟื้นฟูซุนนะฮ์นั้นมีหลักฐานที่เป็นเอกเทศน์ของมัน

       เพราะมีบรรดาฮะดิษที่ส่งเสริมการฟื้นฟูซุนนะฮ์ที่ชัดเจนได้รายงานมาด้วยกับความหมาย  ซึ่งบ่งชี้ในแง่ของตัวบทฮะดิษและความเข้าใจในตัวฮะดิษที่เกี่ยวกับเรื่องนี้  ส่วนหนึ่งจากบรรดาฮะดิษเหล่านั้นคือ  ถูกรายงานจากอบูฮุร็อยเราะฮ์ ร่อฏิยัลลอฮุอันฮุ  จากท่านนบี(ซ.ล.) ท่านได้กล่าวว่า  "ผู้ใดเรียกร้องไปสู่ทางนำ  เขาได้รับผลการตอบแทนเสมือนกับบรรดาผลการตอบแทนของผู้ที่ตามเขาโดยสิ่งดังกล่าวไม่มีสิ่งใดไม่ลดน้อยลงไปจากผลการตอบแทนของพวกเขาเลย  และผู้ใดที่เรียกร้องไปสู่ความลุ่มหลงเขาจะได้ผลบาปเหมือนกับบรรดาบาปของผู้ที่ตามเขาโดยสิ่งดังกล่าวไม่มีสิ่งใดลดน้อยลงจากบรรดาผลบาปของพวกเขาเลย" รายงานโดยท่านมุสลิม  และได้รายงานจากท่านอบูมัสอูด อัลอันซอรีย์ รอดิยัลลอฮุอันฮู  จากท่านนบี (ซ.ล.) ว่า "ผู้ใดที่ชี้แนะความดีหนึ่ง เขาก็จะได้ผลบุญตอบแทนเหมือนกับผู้ที่กระทำ"   และรายงานจากท่านกะษีร บิน อับดิลลาฮ์ จากบิดาของเขา  จากปู่ของเขา  ได้กล่าวว่า  ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮ์ (ซ.ล.) กล่าวว่า  "ผู้ใดที่ทำการฟื้นฟูซุนนะฮ์ของฉันที่ตายไปแล้วหลังจากฉัน  เขาก็จะได้ผลบุญเหมือนกับผู้ที่ได้ปฏิบัติมัน  โดยผลการตอบแทนของพวกเขาไม่ลดย่อนลงไปเลย  และผู้ใดที่กระทำบิดอะฮ์ที่อัลเลาะฮ์และร่อซูลของพระองค์ไม่พึงพอพระทัย  เขาก็จะได้รับผลบาปนั้นโดยสิ่งดังกล่าวไม่ทำให้บรรดาบาปของผู้คนทั้งหลายนั้นลดน้อยลงไปเลย" รายงานโดยติรมีซีย์ และเขากล่าวว่าเป็นฮะดิษฮะซัน และรายงานโดยอิบนุมาญะฮ์

       ฮะดิษต่างๆ เหล่านี้ได้บ่งชี้ถึงการเปิดประตูสร้างแนวทางต่างๆ ที่ดีงาม  และการแยกแยะได้มีความชัดเจนแล้วระหว่างการริเริ่มสร้างบรรดาแนวทาง(ที่ดี) กับการฟื้นฟูแนวทาง(ที่ดี)"
لا إله إلا الله محمد رسول الله

ออฟไลน์ นูรุ้ลอิสลาม

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1356
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: อธิบายฮะดิษ من سنَّ سُنة
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: ก.ย. 24, 2008, 09:37 PM »
0
وزعم بعض آخر المراد بالسنة في الحديث ما سنه رسول الله صلى لله عليه وسلم وخلفاؤه الراشدين، دون المحدثات من سنن الخير التي لم تكن في عهده صلى الله عليه وسلم ولا في عهد الخلفاء الراشدين، بينما الحديث واضح في تحبيذ ابتداء سنن الخير دون قصر على أهل قرن بعينه، فقصر المحدث على محدث الخلفاء الراشدين تقييد للحديث بدون دليل.

       "บางกลุ่ม(คือวะฮาบี)อ้างว่า  เป้าหมายคำว่า ซุนนะฮ์ในฮะดิษ  คือสิ่งที่ท่านร่อซูลและบรรดาค่อลิฟะฮ์อัรรอชิดีนได้วางแนวทางเอาไว้  ไม่ใช่บรรดาสิ่งที่เกิดขึ้นมาใหม่จากบรรดาแนวทางต่างๆ ที่ดีงามที่ไม่มีในสมัยท่านนบีและค่อลิฟะฮ์อัรรอชิดีน  ในขณะที่ฮะดิษมีความชัดเจนในการเน้นถึงการริเริ่มกระทำขึ้นมากับแนวทางที่ดีงามโดยมิได้จำกัดบุคคลในศตวรรษใดเป็นการเฉพาะ  ดังนั้นการจำกัดสิ่งที่เกิดขึ้นมาใหม่(ที่ดีงาม)เพียงแค่สิ่งที่เกิดขึ้นมาใหม่จากค่อลิฟะฮ์อัรรอชิดีนเท่านั้น  เป็นการจำกัดฮะดิษโดยไร้ปราศจากหลักฐาน"
لا إله إلا الله محمد رسول الله

 

GoogleTagged