ผู้เขียน หัวข้อ: ท่านอิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ กับ ท่านอิมามนะวาวีย์ เป็นอะชาอิเราะฮฺหรือ??  (อ่าน 5255 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด

ท่านอิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ กับ ท่านอิมามนะวาวีย์ เนี๊ยะ  ท่านทั้ง 2 เนี๊ยะ เป็นอะชาอิเราะฮฺจริงป่าวอะ...เห็นพวกวะฮาบีย์ชอบบอกว่า ท่านทั้ง 2 เนี๊ยะ  ไม่ใช่อะกีดะฮฺอะชาอิเราะฮฺ ....
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ก.ค. 20, 2008, 09:55 PM โดย al-fantazy »

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
بقلم‏:‏ د‏.‏ علي جمعة

مفتى الديار المصرية

اشتكى لي بعض الشباب من توجه بدأ يشيع في أوساطهم‏,‏ يستعمل كلمة الأشعرية أو الأشاعرة وكأنها سبب كفيل بأن ينفر الناس من ذلك العالم الذي يوصف بالأشعرية‏,‏ وسألني‏:‏ من هم هؤلاء الأشاعرة وما قصتهم؟ فقلت له‏:‏ إن المذهب الأشعري هو مذهب أهل السنة والجماعة منذ نشأته وحتى يومنا هذا‏,‏ وهو المذهب الذي يدرس في الأزهر الشريف‏,‏ وهو المذهب الذي عليه جماهير أتباع الأئمة الأربعة‏:‏ الحنفية والشافعية والمالكية والحنابلة‏,‏ وكلمة الأشعرية نسبة إلى الإمام أبي الحسن علي بن إسماعيل وهو من أحفاد الصحابي الجليل أبي موسي الأشعري ولد في حدود سنة‏260‏ هجرية‏,‏ ومات في حدود سنة‏330‏ هجرية‏,‏ وهناك اختلاف في تحديد مولده ووفاته‏,‏ درس مذهب الاعتزال على الجبائي لمدة عشرين عاما‏,‏ وهو مذهب يعتمد على العقل ويقدمه على النقل وظاهر النصوص‏,‏ وانطلق أبو الحسن الأشعري من فرضية أخرى وهي عدم وجود أي تناقض بين المعقول والمنقول‏,‏ وهو مذهب أهل السنة السابقين عليه كالشافعي ومالك وغيرهما‏,‏ ولذلك فليس هناك حاجة لتقديم المنقول على المعقول كما يفعل النصوصيون ولا لتقديم المعقول على المنقول كما يفعل المعتزلة‏,‏ وبهذا يتبين أنه ليست هناك ثنائية بين المنقول وبين المعقول بل هما وجهان لعملة واحدة‏.‏إن هذا الفكر المبني على تلك الدراسة العتيقة والمبني على التأمل والنظر‏,‏ والمبني على إيجاد حلول للمشكلات الفكرية المعروضة على الساحة‏,‏ قبله كل العلماء قبولا تاما حتى رأينا أن المعتزلة انتهت أو كادت تنتهي في القرن الرابع الهجري‏,‏ وما ذلك إلا بفضل أبي الحسن الأشعري الذي بنى كلامه على الكتاب والسنة وعلى صحيح المعقول‏,‏ وكان أبو الحسن الأشعري في بعض الأحيان يعرض قولين في المسألة يمكن الأخذ بأحدهما‏,‏ فكل واحد من القولين يعد حلا مقبولا للمشكلة‏.‏

ولقد تطور المذهب الأشعري الذي بنى هذا المنهج والذي دعا الناس لأن تعيش عصرها ولا تقف عند عصر النبوة فقط‏,‏ بل النبي صلى الله عليه وسلم قد ترك لنا منهج التفكير الذي تواجه به المحدثات سواء الفكرية أو العملية‏,‏ ولذلك نري تطور المذهب على يدي الإمام الباقلاني ‏(403‏ هـ‏)‏ والجويني ‏(478‏ هـ‏)‏ ثم الإمام الغزالي‏ (505‏ هـ‏)‏ ثم بعد ذلك الإمام الرازي‏ (606‏ هـ‏)‏ والآمدي‏ (631‏ هجرية‏)‏ وصولا إلى الإيجي ‏(756‏ هـ‏)‏ والسعد التفتازاني ‏(793‏ هـ‏),‏ والشريف الجرجاني‏ (816‏ هـ‏),‏ ومن الأشاعرة‏:‏ الإمام النووي‏ (676‏ هـ‏)‏ شارح صحيح مسلم وصاحب رياض الصالحين والإمام ابن حجر العسقلاني ‏(852‏ هـ‏)‏ شارح صحيح البخاري في كتابه الكبير فتح الباري‏.‏ وكل من يعتمد عليه طلاب العلم من العلماء عبر العصور إلى يومنا هذا‏.‏

واستقر أتباع المسلمين من أهل السنة والجماعة للمذهب الأشعري باعتباره هو المذهب العلمي الأدق والأوسع‏,‏ ولقد ألف الأشعري نحو سبعين كتابا‏;‏ منها كتاب صغير طبع عدة مرات في دائرة المعارف العثمانية بحيدر أباد الدكن بالهند‏,‏ اسمه استحسان الخوض في علم الكلام‏,‏ وهو لا يتعدي ثلاث عشرة صفحة بين فيها استنباط الأصول العقلية من الكتاب والسنة‏.‏

وفي مجموع فتاوى ابن تيمية في المجلد الثالث‏,‏ وهو يحكي عن مناظرة صفي الدين الهندي إمام الأشاعرة لابن تيمية في صفحة‏ 187;‏ قال الصفي الهندي‏:(‏ قلت له أنتم ما لكم على الرجل اعتراض‏;‏ فإنه نصر ترك التأويل وأنتم تنصرون قول التأويل‏,‏ وهما قولان للأشعري‏),‏ ونقل ابن تيمية هذا وقبوله له يدل على أنه كان أشعريا ورضي بذلك‏,‏ ولكن بعضهم يحاول أن يجعله على مذهب ابتدعوه اسمه مذهب السلف‏,‏ والسلف ليس مذهبا‏,‏ إنه فترة تاريخية مباركة شهدت تمسك المسلمين بدينهم وشهدت أيضا بناء حضارتهم‏,‏ وفصل هذا المعني العلامة محمد سعيد البوطي في كتابه السلفية‏,‏ وهو بالأسواق‏.‏

ودأب السلفيون المعاصرون في محاولة أخري لاجتذاب الأشعري لآرائهم النصوصية‏,‏ فكثيرا ما يؤكدون فكرة الفصل الكامل بين الأشعري وأفكار المدرسة المنسوبة إليه‏,‏ والحق أن الأشعري اقتنع تماما بنبذ الفكر الاعتزالي وبنبذ الفكر النصوصي أيضا‏,‏ وصار منهجا هو المقبول عند أهل السنة والجماعة إلى يومنا هذا‏.‏ولذلك فإن الذي يعيب على الأشعرية ويعتبرها مانعا من قبول العلماء‏,‏ ويرد بذلك ما عليه علماء الأزهر حتى في الفقه من أجل أنهم أشاعرة‏,‏ قد جهل انه بذلك أنكر منهج الوسطية وأنه صار بذلك رجعيا يتصور أن الإسلام يصلح لعصر دون عصر‏,‏ ويحاول أن يسحب الماضي على الحاضر‏,‏ وأنه بذلك قد خالف هدي القرآن وهدي النبي صلى الله عليه وآله وسلم معا‏,‏ ولقد حذرنا رسول الله صلى الله عليه وآله وسلم من هذا الصنف من الناس الذين يتكلمون بغير علم‏,‏ وفي الحديث‏:‏ يأتي في آخر الزمان قوم حدثاء الأسنان‏,‏ سفهاء الأحلام‏,‏ يقولون من خير قول البرية‏,‏ يمرقون من الاسلام كما يمرق السهم من الرمية‏,‏ لا يجاوز إيمانهم حناجرهم ‏(‏صحيح البخاري‏),‏ إن هؤلاء قد خطوا بمنهجهم المعوج بداية طريق التطرف ثم الارجاف وهم الدائرة الأوسع التي تنبت منها الدماء البريئة التي تسيل من جراء الجهل بالدين‏,‏ قال رسول الله صلى الله عليه وآله وسلم‏:‏ من خرج على أمتي يضرب برها وفاجرها ولا يتحاشي من مؤمنها ولا يفي لذي عهد عهده فليس مني ولست منه ‏(‏صحيح مسلم‏).‏

ولقد ألف الإمام ابن عساكر الدمشقي ‏(‏المتوفى سنة‏571‏ هجرية‏)‏ كتابه الماتع تبيين كذب المفتري فيما نسب إلى الإمام أبي الحسن الأشعري‏,‏ وبين فيه أتباع جماهير العلماء وأئمتهم عبر العصور إلى القرن السادس لهذا المذهب العلمي الدقيق‏,‏ ومن الدراسات الجيدة التي بذل فيها جهد مشكور كتاب الدكتور جلال موسي بعنوان نشأة الأشعرية وتطورها‏,‏ طبع بدار الكتاب اللبناني ببيروت‏,‏ وتعد كتابات المرحوم علي سامي النشار وكتابات العلامة طه عبد الرحمن ـ متعنا الله بحياته ـ من المجهودات الكبيرة في دراسة هذا المذهب‏,‏ ويكفي أن قلعة الإسلام تدرسه في مناهجها‏;‏ أعني الأزهر الشريف‏.‏

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
ความจริงข้อความภาษาอาหรับด้านบนเนี๊ยะ ไม่ได้เกี่ยวไรกับหัวข้อหรอกนะ..แต่อยากโพสต์ เพราะว่า มันเกี่ยวนิดๆ และอีกอย่างนึง แบบว่า แฟนต้าอะ ไม่มีงานทำอะนะ เลย โพสต์เล่นๆ ไปด้วย หนุกดี เหอะเหอะ..

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
وقال الإمام النووي - رحمه الله تعالى - في مقدِّمة " المجموع " :

" فرعٌ : اختلفوا في آيات الصفات وأخبارها ؛ هل يُخاضُ فيها بالتأويل ، أم لا ؟
فقال قائلون : تُتأوَّلُ على ما يليق بها . وهذا أشهر المذهَبَيْن للمتكلمين .
وقال آخرون : لا تُتأوَّل ؛ بل يُمسَكُ عن الكلام في معناها ، ويُوَكَّل علمها إلى الله تعالى ، ويُعتَقَدُ مع ذلك تنزيه الله تعالى ، وانتفاء صفات الحادث عنه .
فيقال - مثلًا - : نؤمن بأن الرحمن على العرش استوى ، ولا نعلمُ حقيقةَ معنى ذلك والمراد به ، مع أنَّا نعتقدُ أنَّ الله تعالى (ليس كمثلهِ شيءٌ) ، وأنَّهُ مُنزَّهٌ عن الحُلُولِ ، وسِماتِ الحُدُوثِ . وهذه طريقة السلف ، أو جماهيرهم ، وهي أسلم ؛ إذ لا يُطالبُ الإنسانُ بالخوض في ذلك ، فإذا اعتقدَ التَّنزيهَ ؛ فلا حاجة إلى الخوض في ذلك ، والمخاطرة فيما لا ضرورة - بل لا حاجة - إليه ، فإن دَعَتِ الحاجةُ إلى التَّأويلِ لِردِّ مُبتدعٍ ونحوه تأوَّلوا حينئذ ، وعلى هذا يُحملُ ما جاء عن العلماء في هذا ، والله أعلم " . اهـ كلامه - رحمه الله - .

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
وقال الإمام النووي - رحمه الله تعالى - في مقدِّمة " المجموع " :

" فرعٌ : اختلفوا في آيات الصفات وأخبارها ؛ هل يُخاضُ فيها بالتأويل ، أم لا ؟
فقال قائلون : تُتأوَّلُ على ما يليق بها . وهذا أشهر المذهَبَيْن للمتكلمين .
وقال آخرون : لا تُتأوَّل ؛ بل يُمسَكُ عن الكلام في معناها ، ويُوَكَّل علمها إلى الله تعالى ، ويُعتَقَدُ مع ذلك تنزيه الله تعالى ، وانتفاء صفات الحادث عنه .
فيقال - مثلًا - : نؤمن بأن الرحمن على العرش استوى ، ولا نعلمُ حقيقةَ معنى ذلك والمراد به ، مع أنَّا نعتقدُ أنَّ الله تعالى (ليس كمثلهِ شيءٌ) ، وأنَّهُ مُنزَّهٌ عن الحُلُولِ ، وسِماتِ الحُدُوثِ . وهذه طريقة السلف ، أو جماهيرهم ، وهي أسلم ؛ إذ لا يُطالبُ الإنسانُ بالخوض في ذلك ، فإذا اعتقدَ التَّنزيهَ ؛ فلا حاجة إلى الخوض في ذلك ، والمخاطرة فيما لا ضرورة - بل لا حاجة - إليه ، فإن دَعَتِ الحاجةُ إلى التَّأويلِ لِردِّ مُبتدعٍ ونحوه تأوَّلوا حينئذ ، وعلى هذا يُحملُ ما جاء عن العلماء في هذا ، والله أعلم " . اهـ كلامه - رحمه الله - .

ท่านอิมาม  อันนะวาวี  ได้กล่าวไว้  บทนำหนังสือ  อัลมัจญ์มั๊วะอฺ  ความว่า  "บรรดาปวงปราชญ์ได้มีทัศนะแตกต่างกันในเรื่องของบรรดาอายะฮ์และฮะดิษที่เกี่ยวกับซิฟาต  ว่า  จะมีการเข้าไปทำการตะวีล(ตีความ)หรือไม่?  ดังนั้น  บรรดานักปราชญ์ที่กล่าวว่า  ให้ทำการตีความอย่างเหมาะสมด้วยกับมัน  และนี้ก็คือทัศนะที่เลื่องลือจากสองแนวทาง  ของปราชญ์มุตะกัลลิมีน  และนักปราชญ์ท่านอื่น ๆ กล่าวว่า  ไม่ทำการตีความ  แต่ให้ยับยั้งจากการพูดถึงความหมายของมัน (บรรดซีฟาต)  และมอบหมายการรอบรู้มันไปยังอัลเลาะฮ์ตะอาลา(แต่วะฮาบีย์ยืนยันว่ารู้ความหมายเป็นอย่างดีตามแบบฉบับของพวกเขา)  และให้ยึดมั่นพร้อมกับดังกล่าวกับความบริสุทธิ์ของอัลเลาะฮ์ตะอาลา (จากการไปคล้ายคลึงบรรดาคุณลักษณะสิ่งที่ถูกสร้าง)  และทำการปฏิเสธจากบรรดาคุณลักษณะของสิ่งที่บังเกิดใหม่จากพระองค์

อาทิเช่น  กล่าวว่า   เราได้ศรัทธาอัลเลาะฮ์ทรงอิสติวาอฺเหนืออะรัช  ซึ่งเราไม่รู้ถึงแก่นแท้ของหมายความ(แต่วะฮาบีย์รู้ความหมายแก่นแท้ของซีฟัต))และเป้าหมายสิ่งดังกล่าว  พร้อมกับเราเชื่อมั่นว่า  แท้จริง  อัลเลาะฮ์ตะอาลานั้น  "พระองค์ไม่มีสิ่งใดมาคล้ายเหมือนกับพระองค์"  และแท้จริงพระองค์ทรงปราศจากการเข้าไปมีที่อยู่  ปราศจากคุณลักษณะที่บังเกิดขึ้นมาใหม่  และนี้ก็คือแนวทางของสะลัฟ  หรือสะลัฟส่วนมาก  ซึ่งเป็นแนวทางที่ปลอดภัยกว่า  เนื่องจากมนุษย์ไม่ถูกใช้ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าว  ดังนั้นเมื่อเขาได้เชื่อมั่นถึงความบริสุทธิ์(ของอัลเลาะฮ์จากสิ่งที่เป็นคุณลักษณะของมัคโลค)  ก็ไม่จำเป็นใด ๆ ที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าว  และคิดในสิ่งที่ไม่มีความจำเป็น  ยิ่งกล่าวนั้น  ไม่มีความจำเป็นอันใดเลยด้วยซ้ำ  แต่ถ้าหากมีความจำเป็นที่ต้องทำการตีความ(ตะวีล)  เพื่อโต้ตอบพวกบิดอะฮ์ และอื่น ๆ  ในขณะนั้นพวกเขาก็จะทำการตีความ (ตะวีล) (ยุคนี้ยังคงต้องการตีความครับเพราะอะกีดะฮ์บิดอะฮ์เริ่มแพร่เข้ามา)  และบนแนวทางดังกล่าวนี้  ได้ตีความมาจากสิ่งที่มี(ระบุ)มาจากบรรดาปวงปราชญ์เกี่ยวกับเรื่องนี้  วัลลอฮุอะลัม"

จากหลักอะกีดะฮ์ของอิมามอันนะวาวีย์ ร่อฮิมะฮุลลอฮุตะอาลา  นี้   ถือว่าขัดแย้งกับหลักอะกีดะฮ์ของวะฮาบีย์อย่างสิ้นเชิง 

1. ไม่ทำการตีความ  และไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับความหมาย  โดยมอบหมายความรู้ที่แท้จริงและเป้าหมายที่แท้ไปยังเลาะฮ์  ซึ่งเป็นแนวทางสะลัฟที่อิมามอันนะวาวีย์ ได้ยืนยันไว้  แต่วะฮาบีย์รู้ความหมายและไม่ทำการมอบหมายความหมายอันแท้จริงไปยังต่ออัลเลาะฮ์ 

2. ท่านอิมามอันนะวาวีย์อยู่ในแนวทางของสะลัฟ  โดยมอบหมาย(ตัฟวีฏ) ไม่ทำการตีความ  นอกจากมีความจำเป็นเพื่อโต้ตอบพวกบิดอะฮ์  ก็จะทำการตีความ  ซึ่งแตกต่างกับวะฮาบีย์  ที่ไม่ทำการมอบหมาย  เพราะอ้างว่ารู้ความหมายซีฟัตของอัลเลาะฮ์ที่มุตะชาบิฮาต 

วัลลอฮุอะลัม

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พ.ย. 24, 2008, 09:48 PM โดย al-azhary »
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ al-fantazy

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 270
  • สูบบุหรี่เป็นสีแก่ปาก สูบมากๆ ระวังปากจะไม่มีสี
  • Respect: +4
    • ดูรายละเอียด
ขอบคุณ ขอรับท่านอาจารย์ ที่ช่วยแปลให้พี่น้องเราได้อ่านกัน ว่างๆ ท่านอาจารย์ก็เอาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนี้มาอีกนะคับ...เพราะแค่นี้ยังไม่พออะค้าบบบ
เพราะยังมีท่านอิบนุ หะญัร อีก..ว่าเป็นไงกันแน่...

ออฟไลน์ Muftee

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1899
  • เพศ: ชาย
  • ตั้งใจเข้าไว้นะ มุฟตีย์น้อย
  • Respect: +190
    • ดูรายละเอียด
ท่านอิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ และ ท่านอิมามนะวาวีย์ นั้น ท่านทั้ง 2 เป็นอุละมาอฺที่ทำการอธิบายหนังสือ ศอเฮี๊ยะฮฺบุคอรีย์และมุสลิม ตามลำดับ ซึ่งตำรา ศอเฮี๊ยะฮฺบุคอรีย์และมุสลิม  นั้นถือว่าเป็นตำราที่ถูกต้องที่สุดรองจาก อัลกุรอาน และตำราทั้ง 2 เล่มนี้ (ศอเฮี๊ยะฮฺบุคอรีย์และมุสลิม )
ผู้ที่ทำการอธิบายได้ครอบคลุมที่สุด คือ  ท่านอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์  กับ ท่านอิมามนะวาวีย์ ตามลำดับ ดังนั้นพวกวะฮาบีย์จึงพยายามดึงท่านทั้งสองเข้ามาเป็นฝ่ายของตนเอง เพื่อยกระดับความน่าเชื่อถือให้แก่กลุ่มของตนเอง แต่น่าเสียดายที่ท่านทั้ง 2 นี้ ไม่ว่าจะเป็น ท่านอิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ หรือ ท่านอิมามนะวาวีย์ ต่างล้วนแล้วแต่เป็นอะชาอิเราะฮฺทั้งสิ้น ซึ่งเป็นที่รู้กันดีในบรรดานักวิชาการแห่งโลกอิสลาม 


ท่าน เชค บิน บาซ (อัล-วะฮาบีย์) ได้เขียนตำราขึ้นมาเล่มนึง เป็นตำราเล่มบางๆ เป็นตำราที่ท่านเชค บิน บาซ (อัล-วะฮาบีย์) เขียนขึ้นเพื่ออธิบายข้อผิดพลาดของ ท่าน อิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์  ในหนังสือ ฟัตหุลบารีย์ ชัรหุ เศาะเฮี้ยะหฺ บุคอรีย์ ในเรื่องอะกีดะฮฺ /// ดังนั้นหากว่าท่าน อิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ อยู่ในแนวทางเดียวกับพวกวะฮาบีย์ แล้วทำไม ท่านเชค บิน บาซ (อัล-วะฮาบีย์) ถึงต้องแต่งหนังสือออกมาตอบโต้ท่าน อิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ ด้วยละ


นอกจาก ท่านอิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ และ ท่านอิมามนะวาวีย์ แล้ว //// ยังมีท่านอิบนุกะษีร อีกท่าน ที่พวกวะฮาบีย์ชอบอ้างว่า ท่านไม่ได้มีอะกีดะฮฺอะชาอิเราะฮฺ ทั้งๆ ที่ท่านอิบนุ กะษีร นี่แหละ คือ อะชาอิเราะฮฺของแท้เลย ++++++
// อะฮฺลิสสุนนะฮฺ อัล-อะชาอิเราะฮฺ...สักวันนึง เราต้องเป็นอุละมาอฺที่ยิ่งใหญ่ อินชาอัลลอฮฺ //

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
 salam

อัลฮัมดุลิลลาฮ์  ที่อัลเลาะฮ์ได้ให้อุลามาอ์อัลอะชาอิเราะฮ์  เป็นผู้ที่มีบทมากที่สุดในการแบกรับหลักการอัลอิสลาม  ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ผู้แบกรับหลักการอิสลาม  จะกลายเป็นพวกบิดอะฮ์  ในปัจจุบัน  เพราะหากมิเป็นเช่นนั้น  อิสลามก็จะได้รับการบิดเบือนมาทุกยุคสมัย  และมุญัดดิดในทุก 100 ปีก็จะขาดตอน  ซึ่งขัดกับซุนนะฮ์นบี 

วัลลอฮุอะลัม
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ คะลัคคะลุย

  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 670
  • เรื่อยไป
  • Respect: +3
    • ดูรายละเอียด
 salam

ว่าง ๆ คุณ Muftee  น่าจะยกตัวอย่างทัศนะของท่านอิมามอันนะวาวีย์และท่านอัลฮาฟิซฺอิบนุฮะญัร  เกี่ยวกับอะกีดะฮ์อัลอะชาอิเราะฮ์ลงในกระทู้นี้บ้างนะครับ  ;D
اللهم صل علي سيدنا محمد وعلي آل محمد وصحبه وسلم

ออฟไลน์ Muftee

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1899
  • เพศ: ชาย
  • ตั้งใจเข้าไว้นะ มุฟตีย์น้อย
  • Respect: +190
    • ดูรายละเอียด
salam

ว่าง ๆ คุณ Muftee  น่าจะยกตัวอย่างทัศนะของท่านอิมามอันนะวาวีย์และท่านอัลฮาฟิซฺอิบนุฮะญัร  เกี่ยวกับอะกีดะฮ์อัลอะชาอิเราะฮ์ลงในกระทู้นี้บ้างนะครับ  ;D


ไม่ต้องห่วงครับ  ตอนนี้ข้อมูลพร้อมแล้วที่จะแปลให้อ่านกัน  ขาดเพียงแค่ เวลา เท่านั้น....รับรองงานนี้แฉละเอียดยิบ... party: party:
// อะฮฺลิสสุนนะฮฺ อัล-อะชาอิเราะฮฺ...สักวันนึง เราต้องเป็นอุละมาอฺที่ยิ่งใหญ่ อินชาอัลลอฮฺ //

ออฟไลน์ มุคลิศ

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 159
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด

จะรอติดตามการนำเสนอล่ะกัน อินชาอัลเลาะฮ์

ออฟไลน์ Al Fatoni

  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 4905
  • เพศ: ชาย
  • จงอยู่กับความจริงแล้วจะไม่หลง
  • Respect: +76
    • ดูรายละเอียด
ท่านอิมามอิบนุ หะญัร อัลอัสกอลานีย์ กับ ท่านอิมามนะวาวีย์ เนี๊ยะ  ท่านทั้ง 2 เนี๊ยะ เป็นอะชาอิเราะฮฺจริงป่าวอะ...เห็นพวกวะฮาบีย์ชอบบอกว่า ท่านทั้ง 2 เนี๊ยะ  ไม่ใช่อะกีดะฮฺอะชาอิเราะฮฺ ....

               ใช่ครับ ในเอกสารประกอบการเรียนการสอนของรายวิชา เตาฮีด ของสถาบันที่ผมเรียนนั้น ก็บอกว่าท่านอิมามนวาวีย์มีอกีดะฮ์แบบสลัฟ ไม่ใช่ค็ลัฟ (สลัฟ ณ ที่นี้หมายถึง สลัฟตามแบบวะฮาบีย์) - วัลลอฮุอะอฺลัม - วัสสลาม
ท่านขนขวายอะไร ท่านก็จะได้สิ่งนั้น - วัลลอฮุอะอฺลัม

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
               ใช่ครับ ในเอกสารประกอบการเรียนการสอนของรายวิชา เตาฮีด ของสถาบันที่ผมเรียนนั้น ก็บอกว่าท่านอิมามนวาวีย์มีอกีดะฮ์แบบสลัฟ ไม่ใช่ค็ลัฟ (สลัฟ ณ ที่นี้หมายถึง สลัฟตามแบบวะฮาบีย์) - วัลลอฮุอะอฺลัม - วัสสลาม

นั่นคือการ ตัดลีซ (อำพราง) นักศึกษาที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์  เพราะท่านอิมามอันนะวาวีย์ไม่มีอะกีดะฮ์แบบวะฮาบีย์อย่างแน่นอนครับเพราะอิมามอันนะวาวีย์นั้นอุลามาอฺวะฮาบีเองก็ยืนยันว่าท่านมิได้มีแนวทางอะกีดะฮ์เหมือนกับพวกเขา  แต่ท่านมีอะกีดะฮ์อะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ตามแบบสะลัฟอัลอะชาอิเราะฮ์และยังมีการตีความไปพร้อม ๆ กันด้วย  เนื่องจากการมอบหมายและการตีความนั้นล้วนแต่เป็นแนวทางของสะละฟุศศอลิห์

أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
 salam

ท่านอิมาม อันนะวาวีย์  เป็นอุลามาอฺเป็นปราชญ์ที่ประชาชาติหลังจากท่านให้การอิจญฺมาอฺลงมติถึงความมีคุณธรรมและทรงความรู้ของท่าน ใคร ๆ ก็อยากให้อิมามอันนะวาวีย์มีหลักอะกีดะฮ์เหมือนกับตน

ตัวอย่างอะกีดะฮ์ของอิมามอันนะวาวีย์ที่แตกต่างกับแนวทางอัลอะวะฮาบียะฮ์ในปัจจุบันครับ

1. ท่านอิมามอันนะวาวีย์ กล่าวอธิบายว่า

اعلم أن لأهل العلم في أحاديث الصفات وآيات الصفات قولين

"ท่านจงรู้เถิดว่า แท้จริงให้กับนักปราชญ์ เกี่ยวกับบรรดาหะดิษซิฟาตและบรรดาอายาตซีฟาตนั้น มี 2 ทัศนะ" คือ

أحدهما : وهو مذهب معظم السلف أو كلهم أنه لا يتكلم في معناها , بل يقولون : يجب علينا أن نؤمن بها ونعتقد لها معنى يليق بجلال الله تعالى وعظمته مع اعتقادنا الجازم أن الله تعالى ليس كمثله شيء وأنه منزه عن التجسم والانتقال والتحيز في جهة وعن سائر صفات المخلوق , وهذا القول هو مذهب جماعة من المتكلمين , واختاره جماعة من محققيهم وهو أسلم

ทัศนะที่ หนึ่ง คือมัซฮับส่วนมากของสะลัฟหรือทั้งหมด กล่าวคือ จะไม่มีการพูดกันในความหมายของมัน แต่พวกเขากล่าวว่า จำเป็นบนเราต้องศรัทธาเชื่อด้วยกับมัน(บรรดาอายะฮ์และหะดิษซีฟาต) และเราเชื่อมันกับความหมายที่เหมาะสมกับความเกรียงไกรและความยิ่งใหญ่ของอัล เลาะฮ์ ตะอาลา พร้อมกับให้เราเชื่อมั่นว่า แท้จริงอัลเลาะฮ์ ตะอาลา "ไม่มีผู้ใดที่มาคล้ายเหมือนกับพระองค์" และพระองค์ทรงปราศจากการเป็นรูปร่าง ปราศจากการเคลื่อนย้าย(จากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ) ปราศจากการอยู่ในทิศใดทิศหนึ่ง และปราศจากการเหมือนบรรดาคุณลักษณะอื่น ๆ ของบรรดามัคโลค และนี้คือทัศนะคำกล่าวของมัซฮับกลุ่มหนึ่งจากอุลามาอ์กะลาม และกลุ่มหนึ่งจากอุลามาอ์กะลามที่ทรงความรู้อันแน่นแฟ้นได้เลือกเฟ้น และมันคือทัศนะที่ปลอดภัยกว่า" 

อะกีดะฮ์อัลวะฮาบียะฮ์นั้น

1. อัลเลาะฮ์ทรงเป็นรูปร่าง

2. อัลเลาะฮ์ทรงเคลื่อนย้ายจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ

3. อัลเลาะฮ์ทรงมีทิศในเชิงรูปธรรม

วัลลอฮุอะลัม
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
 salam

ท่านอิมามนะวาวีย์ ได้กล่าวไว้ใน ชัรหฺ ซอเฮี๊ยะหฺมุสลิม เกี่ยวกับฮะดิษ النزول คือฮะดิษเกี่ยวกับการลงมาจากฟากฟ้า ว่า ?ในฮะดิษนี้ และเหมือนๆ กับฮะดิษนี้ ที่มาจากบรรดาฮะดิษซีฟาต และอายะฮฺซีฟาต มีความเห็นอยู่ 2 มัซฮับที่เลื่องลือ(ที่มาจากอะฮ์ลิสซุนนะฮ์อัลอะชาอิเราะฮ์ที่ท่านอิมามอันนะวาวีย์ให้การยอมรับทั้งสองแนวทางนี้)

1. มัซฮับส่วนมากจากซะลัฟ และส่วนหนึ่งจากมุตะกัลลิมีน คืออีมาน ด้วยหะกีกัตของมันที่เหมาะสมกับพระองค์ และความหมายผิวเผินของมันอันเป็นที่รู้กันในสิทธิ์ของเรานั้น ไม่ใช่จุดมุ่งหมาย และเราไม่กล่าวในการตีความมัน พร้อมกับเราเชื่อมั่นว่า อัลเลาะฮฺทรงบริสุทธิ์จากเครื่องหมายต่างๆ จากสิ่งที่เกิดใหม่

2.  มัซฮับส่วนมากของมุตะกัลลิมีน และกลุ่มหนึ่งจากอุลามาอฺสะลัฟ โดยมันได้ถูกรายงานเล่ามาจากอิมามมาลิก และอิมามอัลเอาซะอีย์ ว่า แท้จริงมันจะถูกตีความกับสิ่งที่พระองค์ทรงเหมาะสมด้วยกับมัน โดยพิจารณาตามสถานที่ของมัน ดังนั้นเมื่อเป็นเช่นนี้ อัลฮะดิษ(บทนี้) จะถูกตีความได้สองอย่างด้วยกัน(ที่ได้กล่าวมาแล้ว....... (ดู ชัรหู ซอเฮี๊ยะหฺมุสลิม เล่ม 6 หน้า 37)

รายงานจาก หุบัยบ์ บิน อบีฮะบีบ ว่า อิมามมาลิกได้กล่าวแก่ฉันว่า

ينزل ربنا تبارك وتعالى أمره، فأما هو فدائم لا يزول

" องค์อภิบาลของเราได้ทำให้การงาน(คำบัญชา)ของพระองค์ได้ลงมา สำหรับพระองค์นั้น ก็ทรงคงอยู่ไม่หายไปใหน"

หลักอะกีดะฮ์ของวะฮาบียะฮ์

1. พวกเขารู้ถึงความหมายฮะกีกัตของ النزول คือฮะดิษเกี่ยวกับการลงมาจากฟากฟ้า  โดยอัลเลาะฮ์ลงมาแบบเคลื่อนย้ายจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ

2. วะฮาบีย์ไม่ตีความและตำหนิการตีความ  แต่อิมามอันนะวาวีย์ให้การยอมรับถึงการตีความว่า การลงนี้  หมายถึง  การลงมาของคำบัญชาของอัลเลาะฮ์  ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งของสะละฟุศอลิห์  ได้รับการรายงานอย่างเลื่องลือและแพร่หลายจากท่านอิมามมาลิก

วัลลอฮุอะลัม
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

 

GoogleTagged