أيد ตรงนี้เป็นอาการนาม (มัศดัร) เอกพจน์ (ไม่ใช่พหูพจน์) ที่ผัน (ตัศรีฟ) มาจากรากศัพท์ของคำว่า อาดะ َآد หรือ อะยะดะ َأََيَد
آد يئيد أيدا وآدا: قوي واشتد แปลว่า พลัง อำนาจ และมีอีกหลายๆคำที่ผันมาจากคำนี้ เช่นคำว่า أَيَّد (อัยยะดะ) تأييد (ตะอ์ยีด) เป็นต้น
ฉะนั้นการแปลความหมายของอายะฮฺข้างต้นว่า "และชั้นฟ้าทั้งหลายเราได้สร้างมันด้วยพลังอำนาจ" จึงเป็นการแปลแบบคำตรง (หะกีเกาะฮฺ) ไม่ใช่การแปลแบบตีความ (มะญาซ) ส่วนคำแปลที่ปรากฏในหนังสือของสมาคมนักเรียนเก่าอาหรับนั้น ถือว่าไม่ถูกต้อง
ในอัลกุรอานระบุว่า
أَمْ لَهُمْ
أَيْدٍ يَبْطِشُونَ بِهَا
อายะฮ์ระบุว่า أَيْدٍ เป็นพหูพจน์จาก ยะดุน
สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับ อาจจะแปลถูกตามทัศนะของเขาก็ได้ เพราะท่าน ฟัครุดดีร อัรรอซี ได้กล่าวตัฟซีรอธิบายไว้แบบดังกล่าวเช่นกัน
{ بِأَيْدٍ } أي قوة والأيد القوة هذا هو المشهور وبه فسّر قوله تعالى: { ذَا الأيد إِنَّهُ أَوَّابٌ } يحتمل أن يقال
إن المراد جمع اليد، ودليله أنه قال تعالى: { لِمَا خَلَقْتُ
بِيَدَىَّ }وقال تعالى: { مِمَّا عَمِلَتْ
أَيْدِينَا أنعاما }وهو راجع في الحقيقة إلى المعنى الأول وعلى هذا فحيث قال: { خُلِقَتْ } قال: { بِيَدَىَّ }
وحيث قال: { بِأَيْدٍ } لمقابلة الجمع بالجمع
มีหลายอายะฮ์ที่ระบุถึงการสร้างของอัลลอฮ์ ด้วยกับซีฟัตยะดุน ทางนักเรียนเก่าอาหรับ จึงให้ความหมายว่า พระหัตถ์ตามนัยยะดังกล่าว...