ซึ่งบทความของท่านหะซันอัลบันนา มีความชัดเจน อ่านง่ายสวยงามครับและบทหนึ่งที่ผมจะขอแปลคือ
وخلاصة ما قاله هو أن الأخذ بالظاهر هو تجسيم و تشبيه , لأن ظاهر اللفظ هو ما وضع له , فلا معنى لليد حقيقة إلا الجارحة , وهكذا .
و أما مذهب السلف فليس أخذها على ظاهرها , ولكن السكوت جملة عن البحث فيها ,
ท่านหะซันอัลบันนากล่าวว่า โดยสรุป คำกล่าวของเขา(أبو الفرج بن الجوزي الحنبلي)ว่า การให้ความหมายแบบซอฮิร นั้น คือการตัจยศีม(ให้เป็นร่างกาย) และตัชบีฮฺ(การคล้ายคลึง)
เพราะว่า ซอฮิรของคำนั้น เป็นสิ่งที่ถูกวางไว้ ดังนั้นการให้ความหมายคำว่ายัด(มือ)แบบฮะกีเกาะฮฺนั้นจะเป็นอย่างอื่นไม่ได้เว้นแต่จะเป็นอวัยวะ และเช่นนี้แหละ
ส่วนชาวสลัฟนั้น ไม่ได้เอาตามความหมายแบบซอฮิร แต่ทว่าเขานั้นหยุดประโยคจากการค้นหาในมัน