สิ่งดังกล่าวมีดังนี้
(1.) มุอฺตะมัด (معتمد)
(2.) อิจฺญ์มาอ์ อัลอุละมาอ์ (إجماع)
(3.) อิตติฟากฺ อัลอุละมาอ์ (اتفاق)
(4.) ญุมฮูร อัลอุละมาอ์ (جمهور)
(5.) (ทัศนะที่) รอญิหฺ, (راجح) ตัรฺญีหฺ (ترجيح)
(6.) (ทัศนะที่) อศ็อหฺ (أصح)
(7.) (ทัศนะที่) อัซฮารฺ (أظهر)
จริงๆแล้ว ศัพท์เชิงวิชาการเหล่านี้ เราจะให้ความหมายตรงตัวเชิงภาษาไทยไม่ได้หรอก นอกจากเราจะรู้ถึงความหมายเฉพาะของศัพท์อย่างละเอียดเสียก่อน ซึ่งทางที่ดีควรทับศัพท์ไปเลย แต่หากจะแปลในเชิงภาษา(ไม่ใช่เชิงศัพท์วิชาการนั้น) จะแปลให้ดังนี้
(1.) มุอฺตะมัด (معتمد) ทัศนะที่ถูกยึดถือ
(2.) อิจฺญ์มาอ์ อัลอุละมาอ์ (إجماع) มติของปวงปราชญ์
(3.) อิตติฟากฺ อัลอุละมาอ์ (اتفاق) ทัศนะที่เห็นพร้อง
(4.) ญุมฮูร อัลอุละมาอ์ (جمهور) ปราชญ์ส่วนมาก
(5.) (ทัศนะที่) รอญิหฺ, (راجح) ทัศนะที่มีน้ำหนัก ตัรฺญีหฺ (ترجيح) การให้น้ำหนัก
(6.) (ทัศนะที่) อศ็อหฺ (أصح) ทัศนะที่ถูกต้องกว่า
(7.) (ทัศนะที่) อัซฮารฺ (أظهر) ทัศนะที่ชัดเจนกว่า
(8.) "อุฑูรฺ (عذور)" มีอุปสรรค
(9.) "ฎ็รูเราะฮ์ (ضرورة)" สภาวะจำเป็น หรือ สภาวะขับขัน
วัลลอฮุอะลัม