وقال الإمام أبو محمد
بن أبي جمرة في تعليقه على الأحاديث التي انتقاها من البخاري : هذا الحديث يدل على أنه من
رآه صلى الله عليه و سلم في المنام فسيراه في اليقظة ، وهل هذا على عمومه في حياته
وبعد مماته ؟ أو هذا كان في حياته ؟ وهل ذلك لكل من رآه مطلقا ؟
أو خاص بمن فيه الأهلية والاتباع لسنته عليه السلام ؟ اللفظ يعطي العموم ، ومن يدعي
الخصوص فيه بغير مخصص منه صلى الله عليه وسلم فمتعسف.
قال : وقد وقع
من بعض الناس عدم التصديق بعمومه ، وقال على ما أعطاه عقله -: وكيف يكون من قد
مات يراه الحي في عالم الشاهد ؟ قال : و في هذا قول من المحذور وجهان خطران ،
أحدهما : عدم التصديق لقول الصادق عليه السلام الذي لا ينطق عن الهوى.
والثاني : الجهل بقدر القادر وتعجيزها ، كأنه لم يسمع في سورة البقرة ؟ قصة البقرة ؟
وكيف قال الله تعالى : { اضربوه ببعضها كذلك يحي الله الموتى }[البقرة73] وقصة إبراهيم
عليه السلام في الأربع من الطيور ؟ وقصة عزير ؟ فالذي جعل ضرب الميت ببعض البقرة
سببا لحياته ؛ وجعل دعاء إبرهيم سببا لإحياء الطيور ؟ وجعل تعجب عزير سببا لموته
و موت حماره ؛ ثم لإحيائهما بعد مائة سنة قادر أن يجعل رؤيته صلى الله عليه وسلم في النوم
سببا لرؤيته في اليقظة ! و قد ذكر عن صحابة أظنه ابن عباس رضي الله عنهما أنه رأى
النبي صلى الله عليه وسلم في النوم ، فتذكر هذا الحديث وبقي يفكر فيه ! ثم دخل على بعض
أزواجه النبي أظنها ميمونة فقص عليها قصته فقامت وأخرجت له مرآته صلى الله عليه
وسلم قال رضي الله عنه : فنظرت في المرآة ، فرأيت صورة النبي صلى الله عليه وسلم ولم أر
لنفسي صورة ، قال : وقد ذكرعن بعض السلف والخلف وهلم جرا عن جماعة ممن كانوا
رأوه صلى الله عليه وسلم في النوم ، و كانوا ممن يصدقون بهذا الحديث فرأوه بعد ذلك في
اليقظة وسألوه عن أشياء كانوا منها متشوشين ؟ فأخبرهم بتفريجها ، ونص لهم على الوجوه
التي منها يكون فرجها فجاء الأمر كذلك بلا زيادة ولا نقص.
قال : والمنكر لهذا لا يخلو إما أن يصدق بكرمات الأولياء أو يكذب بها ، فإن كان ممن يكذب
بها فقد سقط البحث معه ، فإنه يكذب ما أثبتته السنة بالدلائل الواضحة ، و إن كان مصدقا بها
فهذه من ذلك القبيل لأن الأولياء يكشف لهم بخرق العادة عن أشياء في العالمين العلوي والسفلي
عديدة ، فلا ينكر هذا مع التصديق بذالك. انتهى كلام ابن أبي جمرة.
และท่านอิหม่าม อบูมุหัมหมัด บิน อบียัมเราะฮฺ ได้กล่าวไว้นั้นกำกับความของเขา(กอฎีอบูบักร)บนหะดีษที่เขาได้
คัดเลือกมาจาก(อีหม่าม)บุคอรี ว่าหะดีษนี้ได้บ่งบอกว่าใครก็ตามได้เห็นท่าน(นบี)ซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัมใน
ฝันเขาจะได้เห็นท่านนบีในสภาพที่ตื่น และคำนี้บ่งบอกแบบทั่วไปในช่วงที่ท่านนบีมีชีวิตอยู่และหลังจากตายไป
แล้ว? หรือคำนี้เจาะจงในช่วงเวลาที่ท่านนบีมีชีวิตอยู่เท่านั้น?
และการเห็นนั้นท่านนบีนั้นสำหรับทุกคนที่เห็นท่านนบีเลยรึปล่าว?
หรือเฉพาะเจาะจงสำหรับผู้ที่มีความเหมาะสมและผู้ที่ตามซุนนะฮฺของท่านนบีอะลัยฮิสสลาม?
คำ(اللفظ)นั้นให้ความหมายโดยทั่วๆไป และใครที่เรียกร้องว่าเจาะจง(الخصوص )โดยไม่มี(مخصص منه)สิ่ง
ที่เหมาะสมจากการเจาะจง นั้นเป็นคำพูดที่ไร้ซึ่งหลักการ
เขา(อบูมุหัมหมัดบินอบียัมเราะฮฺ)ได้กล่าวต่อไปว่า และได้มีผู้คนกลุ่มหนึ่งไม่เชื่อถึงคำ(ในหะดีษนั้น)ที่บ่งบอก
โดยทั้วไป(อุมูม) และเขา(คนที่ไม่เชื่อ)ได้กล่าวว่า(-กล่าวแบบเท่าที่สมองเข้ารู้เท่านั้น-)จะเป็นไปได้อย่างไรในเมื่อ
คนตายที่ไปแล้วจะทำให้คนเห็นแบบคนเป็นได้อีกในโลกชาฮิด(โลกดุนยา)
ท่าน(อบูมุหัมหมัด)ได้กล่าวต่อไปว่า คำกล่าวแบบนี้เป็นสิ่งที่ต้องพึงระวัง อันตรายในสองแง่มุม
หนึ่งคือ การที่เขาไม่เชื่อคำพูดที่สัจจริง(ของท่านนบี)อะลัยฮิสลาม ซึ่งท่านนบีนั้นไม่พูดด้วยอารมณ์ส่วนตัว(ฮาวา)
สองคือ ความเขลาในความสามารถของผู้ที่มีความสามารถ(อัลลอฮฺ) และการที่พระองจะให้มุอฺยิซาตในสิ่งนั้น
หยั่งกับว่าเขานั้นไม่เคยได้ยินในซูเราะฮฺ อัลบะกอเราะฮฺ ? เรื่องราวของวัวตัวเมีย?
และอย่างไรล่ะในเมื่อพระองค์อัลลอฮฺทรงตรัสว่า พวกเจ้าจงตีเขาด้วยบางส่วนของวัวตัวนั้น ในทำนองนั้นแหละ
ที่อัลลอฮฺนั้นให้ผู้ที่ตายได้มีชีวิตขึ้นมา(ซูเราะฮฺบะกอเราะฮฺอายะฮฺที่เจ็ดสิบสาม) และเรื่องราวของอิบรอฮีม อะ
ลัยฮิสลามเกี่ยวกับนกสี่ตัว? เริ่องราวของอุซัยรฺ
แล้วการที่ทำการตีผู้ตายด้วยบางส่วนของวัวตัวเมียเป็นสาเหตุที่ทำให้คนนั้นมีชีวิตขึ้นมา
และการที่(ท่านนบี)อิบรอฮีมดุอาเป็นสาเหตุที่ทำให้นกเหล่านั้นฟื้นคืนชีพ
และการที่อุซัรแปลกใจเป็นสาเหตุที่ทำให้เขาตายพร้อมกับลาของเขาหลังจากนั้นทั้งสองก็ฟื้นคืนชีพหลังจากหนึ่งร้อยปี
(อัลลอฮฺนั้นคือ)ผู้ที่สามารถที่จะให้การฝันเห็นท่านนบีซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมเป็นสาเหตุที่จะให้เขาได้เห็น
ท่านนบีในสภาพที่เขา ตื่น
และได้มีการกล่าวถึงซอฮาบะฮฺ(อิหม่ามซะยูตีบอกว่า-ฉันคิดว่าคืออิบนุอับบาส รอดิยัลลอฮุอันฮุมา-)
ว่าซอฮาบะฮฺท่านนี้ได้ฝันเห็นท่านนบีซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม แ ล้วเขาก็ได้รำลึกถึงหะดีษนี้ แล้วเขาก็คิดไป
เรื่อยๆ และจากนั้น เขาก็ได้เข้าไปหาภรรยาบางท่านของท่านนบีซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม(อิหม่ามซะยูตีบอก
ว่า-ฉันคิดว่าคือนางมัยมูนะฮฺ-)แล้วเขาก็ได้เล่าเรื่องราวของเขาให้ภรรยานบีฟัง นางจึงลุกขึ้น และได้นำกระจกของ
ท่านนบีซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัล ให้แก่เขา ซอฮะบะฮฺท่านนี้ได้กล่าวว่า แล้วฉันก็ได้มองไปยังกระจก
แล้วฉันได้ก็ได้เห็นรูปท่านนบีซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมและฉันนั้นไม่ได้เห็นรูปของฉัน
เขา(อบูมุหัมหมัด)ได้กล่าวต่อไปว่าได้มีการกล่าวถึงบางส่วนของชาวสลัฟและคอลัฟ และฯลฯจากกลุ่ม(ยะ
มาอะฮฺ)ที่พวกเขานั้นเคยได้เห็น(ท่านนบี)ซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมในฝัน และปรากฏว่าพวกเขานั้นเป็นส่วน
หนึ่งจากผู้ที่เชื่อในหะดีษนั้น แล้วหลังจากนั้นพวกเขาก็เห็นท่านนบีในสภาพที่ตื่นอยู่ และพวกเขาได้ทำการถาม
ท่านนบีจากหลายสิ่งหลายอย่าง ซึ่งพวกเขานั้นเป็นทุกข์สับสนกับปัญหานั้น
แล้วท่านรอซูลก็ได้บอกถึงทางออกของปัญหา โดยท่านได้กำหนดอย่างชัดเจนถึงรูปแบบต่างๆที่เป็นทางออกของ
ปัญหา แล้วมันก็ได้เป็นไปตามที่รอซูลบอกโดยไม่เกินหรือขาดแต่อย่างใด.
เขา(อบูมุหัมหมัดบินอบียัมเราะฮฺ)ได้กล่าวต่อไปว่า และผู้ที่รังเกียจในเรื่องนี้ไม่พ้นไปจาก
การที่เขาเชื่อในเรื่องกะรอมาตของบรรดาวลี(ผู้ที่อัลลอฮฺรัก)หรือปฏิเสธกะรอมาต
แล้วถ้าหากว่าเขาเป็นส่วนหนึ่งจากผู้ที่ปฏิเสธในเรื่องกะรอมาตนั้น การค้นคว้าในเรื่องนี้ก็ต้องตกลงไป
เพราะว่าเขานั้นปฏิเสธในสิ่งที่มีความมั่นคงของสุนนะฮฺด้วยกับหลักฐานที่ชัดแจ้ง
แต่ถ้าหากว่าเขานั้น เป็นผู้ที่เชื่อในเรื่องของกะรอมาต และในเรื่องนี้(เรื่องการเห็นนบีนี้)ก็เช่นเดียวกับเมื่อกี้(เรื่อง
กะรอมาต) ก็เพราะว่าบรรดาวลี(ผู้อัลลอฮฺรัก)นั้น ได้ถูกเปิดให้กับพวกเขาในสิ่งที่พิเศษเหนือธรรมชาติในสากล
โลก ทั้งที่สูงและที่ต่ำจำนวนมาก
ดังนั้นจึงไม่มีการรังเกียจในสิ่งนี้(ในการเห็นท่านนบี)พร้อมกับการที่เขาเชื่อในเรื่องกะรอมาต
จบคำพูดของอิบนุอบียัมเราะฮฺ(อบูมุหัมหมัดบินอบียัมเราะฮฺ)