ผู้เขียน หัวข้อ: บทที่แปด มุสตะฮับ(ซุนนะฮฺ)การอ่านอายาตและซูเราะฮฺในเวลาเฉพาะและสภาพที่เฉพาะ  (อ่าน 3543 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด


     

التبيـان في آداب حملة القرآن
 
للإمام أبي زكريا يحيى بن شرف الدين النووي
 
الباب الثامن: في الآيات والسور المستحبة في أوقات وأحوال مخصوصة

อัตติบยาน ในมารยาทของผู้ที่แบกอัลกุรอ่าน
ของอิหม่าม อะบีซะกะรียา ยะหฺยา บินชัรฟุดดีน อันนะวะวี(อิหม่ามนะวะวี)
บทที่แปด มุสตะฮับ(ซุนนะฮฺ)การอ่านอายาตและซูเราะฮฺในเวลาเฉพาะและสภาพที่เฉพาะ

اعلم أن هذا الباب واسع جدا لا مكن حصره لكثرة ما جاء فيه ، ولكن نشير إلى أكثره أو كثيرمنه بعبارات وجيرة ، فإن أكثر الذي نذكره فيه معروف للخاصة والعامة ، ولهذا لا أذكر الأدلة في أكثره فمن ذلك كثره الاعتناء بتلاوة القرآن في شهر رمضان , وفي العشر الأخير آكد ، وليالي الوتر منه آكد ومن ذلك العشر الأول من ذي الحجة ، ويوم عرفة ، ويوم الجمعة ، وبعد الصبح ، وفي الليل ،
وينبغي أن يحافظ على قراءة يس والواقعة وتبارك الملك.

พึงรู้เถิดว่าในบทนี้นั้นกว้างมาก ไม่สามารถจะครอบคลุมได้หมด เนื่องจากมีรายงานมามากมายนัก แต่ทว่าเราจะทำการชี้ไปยังส่วนที่มากกว่าของรายงาน หรือส่วนมากจากรายงานด้วยประโยคที่สั้น ซึ่งสิ่งส่วนใหญ่ในสิ่งที่เราจะกล่าวในบทนี้นั้นเป็นที่รู้จักกันดีในกลุ่มเฉพาะและคนทั่วไปและด้วยเหตุนี้ส่วนใหญ่แล้วฉันจะไม่ยกหลักฐานมาก
แล้วจากสิ่งมุสตะฮับ(ซุนนะฮฺ ชอบให้ทำ)ให้มีมากในความสนใจในการอ่านอัลกุรอ่านในเดือนรอมดอนและในสิบวันสุดท้ายเน้นหนัก และวันที่เป็นเลขคี่ของสิบวันสุดท้าย เน้นหนักและจากสิ่งที่มุสตะฮับให้อ่านกุรอ่านในสิบวันแรกของเดือนซุลฮิจยะฮฺ วันอะรอฟะฮฺ วันศุกร์ หลังซุบฮฺ และในเวลากลางคืน และสมควรที่จะรักษาการอ่านซุเราะฮฺยาซีน และอัลวากิอะฮฺ และตะบารอก อัลมุลกฺ
(فصل): السنة أن يقرأ في صلاة الصبح يوم الجمعة بعد الفاتحة في الركعة الأولى سورة الم تنزيل بكمالها ، وفي الثانية هل أتى على الانسان بكاملها ، ولا يفعل ما يفعله كثير من أئمة المساجد من الاقتصار على آيات من كل واحدة منهما مع تمطيط القراءة ، بل ينبغي أن يقرأهما بكمالهما ، ويدرج قراءته مع ترتيل ، والسنة أن يقرأ في صلاة الجمعة في الركعة الأولى سورة الجمعة بكمالها ، وإن شاء سبح اسم ربك الأعلى ، وفي الثانية هل أتاك حديث الغاشية ، فكلاهما صحيح عن رسول الله صلى الله عليه وسلم ، وليجتنب الاقتصار على البعض ، وليفعل ما قدمناه ، والسنة في صلاة العيد في الركعة الأولى سورة ق ،  ، وفي الثانية سورة اقتربت الساعة بكمالها ، وإن شاء سبح وهل أتاك فكلاهما صحيح عن رسول الله صلى الله عليه وسلم وليتجنب الاقصار على البعض.

บท (ฟัสลุน) ซุนนะฮฺให้ทำการอ่านในละหมาดซุบฮฺวันศุกร์หลักจากอ่านซูเราะฮฺฟาติฮะฮฺ ในรอกะอะฮฺแรก ให้อ่าน อลิฟ ลาม มีม  ตันซีล ให้สมบูรณ์(คืออ่านให้จบซูเราะฮฺ)
ในรอกะอะฮฺที่สอง อ่าน ฮัลอะตาอะลัลอินซาน ให้สมบูรณ์
และอย่าได้ทำแบบอิหม่ามส่วนใหญ่ของมัสยิดต่างๆ ที่ทำการอ่านให้ย่อลงจากอายะฮฺต่างๆ(คืออ่านไม่จบซูเราะฮฺแต่อ่านแค่บางส่วน) ของทุกซูเราะในสองซูเราะฮฺนั้นพร้อมกับอ่านแบบตัมตีต(อ่านลากยาว)
แต่สมควรอ่านให้สมบูรณ์จากซูเราะฮฺ(อ่านให้หมดทั้งซูเราะฮฺ)และให้อ่านไปที่ละขั้นพร้อมกับอ่านแบบตัรตีล(อ่านแบบไม่เร็วไม่ช้าเกิน)
และซุนนะฮฺให้อ่านในละหมาดวันศุกร์ในรอกะอะฮฺแรก ซูเราฮฺยุมอะฮฺ อ่านให้หมด
หรือหากประสงค์(จะอ่านซูเราะฮฺอื่นก็ให้อ่าน)ซับบิฮิสมะรอบบิกัลอะอฺลา
และในรอกะฮฺที่สองนั้นให้อ่าน ฮัลอะตากะฮะดีษุลฆอชิยะฮฺซึ่งทั้งสองนั้น(เป็นฮะดีษที่)ซอฮีฮฺจากท่านรอซูลลิลลาฮฺ ซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม
และจงออกห่างจากการย่อในบางส่วน(คืออ่านบางส่วนของซูเราะฮฺเท่านั้น)
และจงทำอย่างที่เราได้กล่าวามาแล้ว
และซุนนะฮฺให้อ่านในละหมาดอีดในรอกะอะฮฺแรกให้อ่าน ซูเราะฮฺ กอฟ และรอกกะอะฮฺที่สองให้อ่าน ซูเราะฮฺ อิกตะรอบะติซซาอะฮฺ อ่านให้สมบูรณ์ หรือหากประสงค์(จะอ่านซูเราะฮฺอื่นก็ให้อ่าน)ซับบิฮฺ(ซับบิฮิสมะรอบบิกัลอะอฺลา)และฮัลอะตากะ(ฮัลอะตากะฮะดีษุลฆอชิยะฮฺ)ซึ่งทั้งสองนั้นซอฮีฮฺจากท่านรอซูลิลลาฮฺ ซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม
และจงห่างจากการย่อบนบางส่วน(คืออ่านไม่หมดซูเราะฮฺ)


(فصل): ويقرأ في ركعتي سنة الفجر بعد الفاتحة الأولى قل يا أيها الكافرون ، وفي الثانية قل هو الله أحد إن شاء قرأ في الأولى قولوا آمنا بالله وما أنزل إلينا... الآية ، وفي الثانية قل يا أهل الكتاب تعالوا إلى كلمة سواء بيننا وبينكم... الآية ، فكلاهما صحيح من فعل رسول الله صلى الله عليه وسلم ويقرأ في سنة المغرب قل يا أيها الكافرون ، وقل هو الله أحد ، ويقرأ بهما أيضا في ركعتي الطواف وركعتي الاستخارة ، ويقرأ من أوتر بثلاث ركعات في الركعة الأولى سبح اسم
ربك الأعلى ، وفي الثانية قل يا أيها الكافرون ، وفي الثالثة قل هو الله احد والمعوذتين.

บท(ฟัสลุน) และให้อ่านในละหมาดสุนนะฮฺสองรอกะอะฮฺก่อนฟะยัร(ซุบฮฺ)รอกะอะฮฺแรกอ่านกุลยาอัยยุฮัลกาฟิรูน และในรอกะอะฮฺที่สองอ่าน กุลฮุวัลลอฮุอะหัด
หรือหากประสงค์ที่จะอ่าน(อย่างอื่นก็ให้อ่าน)ในรอกะอะฮฺแรก กูลู อามันนา บิลลาฮิ วะมาอุนซิละอิลัยนาฯ และในรอกะอะฮฺที่สองอ่าน กุลยาอะฮฺลัลกิตาบิ ตะอาเลา อิลากะลิมะติน ซะวาอุม บัยนะนา วะบัยนะกุมฯ ซึ่งทั้งสองแบบนั้นซอฮีฮฺจากการกระทำของท่านรอซูลุลลอฮฺ ซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม และให้อ่านในซุนนะฮฺมัฆริบ กุลยาอัยยุฮัลกาฟิรูน และกุลฮุวัลลอฮุอะหัด และให้อ่านด้วยกับทั้งสองใน(ซุนนะฮฺ)สองรอกะอะฮฺตอวาฟ และสองรอกะอะฮฺ อัลอิสติคอเราะฮฺ และให้อ่านในละหมาดวิตรฺแบบสามรอกะอะฮฺในรอกะอะฮฺแรก ซับบิฮิสมะรอบบิกัลอะอฺลา และรอกะอะฮฺที่สอง อ่านกุลยาอัยยุฮัลกาฟิรูน และรอกะอะฮฺที่สาม อ่านกุลฮุวัลลอฮุอะหัด และมุเอาวิซะตัยน์(กุลอะอูซุบิรอบบิลฟะลัก และกุลอุอูซุบิรอบบินนาส).






(فصل): ويستحب أن يقرأ سورة الكهف يوم الجمعة الحديث أبي سعيد الخدري رضي الله عنه وغيره فيه قال الإمام الشافعي في الأم: ويستحب أن يقرأها أيضا ليلة الجمعة ودليل هذا ما رواه أبو محمد الدارمي بإسناده عن أبي سعيد الخدري رضي الله عنه قال من قرأ سوة الكهف ليلة الجمعة أضاء له النور فيما بينه وبين البيت العتيق وذكر الدرامي حديثا في استجاب قراءة سورة هود يوم الجمعة ، وعن مكحول التابعي الجليل استحباب قراءة آل عمران يوم الجمعة.
(فصل): ويستحب الإكثار من تلاوة آية الكرسي في جميع المواطن ، وأن يقرأها كل ليلة إذا أوى إلى فراشه ، وأن يقرأ المعوذين عقب كل صلاة ، فقد صح عن عقبة بن عامر رضي الله عنه قال أمرني رسول الله صلى الله عليه وسلم أن أقرأ المعوذين دبر كل صلاة رواه أبو داود و الترمذي و النسائي. قال الترمذي: حديث حسن صحيح.
(فصل): يستحب أن يقرأ عند النوم آية الكرسي ، وقل هو الله أحد ، والمعوذين وآخر سور ة البقرة ، فهذا مما يهتم له ويتأكد الاعتناء به ، فقد ثبت فيه أحاديث صحيحة عن أبي مسعود البدري رضي الله عنه أن رسول الله صلى الله عليه وسلم قال الآيتان من آخر سورة البقرة من قرأها في ليلة كفتاه قال جماعة من أهل العلم: كفتاه عن قيام الليل ، وقال آخرون: كفتاه المكروه في ليلته وعن عائشة رضي الله عنها أن النبي صلى الله عليه وسلم كان كل ليلة يقرأ قل هو الله أحد والمعوذين وقد قدمناه في فصل النفث بالقرآن ، وروى عن أبي داود بإسناده عن علي كرم الله وجهه قال: ما كنت أرى أحد يعقل دخل في الاسلام ينام حتى يقرأ آية الكرسي ، وعن علي كرم الله وجهه أيضا قال ما كنت أرى أحد يعقل ينام قبل أن يقرأ الآيات الثلاث الأواخر من سورة البقرة إسناده صحيح على شرط البخاري و مسلم ، و عن عقبة ابن عامر رضي الله عنه قال: قال لي رسول الله صلى الله عليه وسلم لا تمر بك ليلة إلا وأنا أقرؤهن وعن إبراهيم النخعي قال (كانوا يستحبون أن يقرؤوا هذه السور كل ليلة ثلاث مرات قل هو الله أحد والمعوذتين) إسناده صحيح على شرط مسلم ، وعن إبراهيم أيضا كانوا يعلمونهم إذا أووا إلى فراشهم أن يقرؤوا المعوذتين ، وعن عائشة رضي الله عنها كان النبي صلى الله عليه وسلم لا ينام حتى يقرأ
الزمر وبني إسرائيل رواه الترمذي وقال حين ويستحب أن يقرأ إذا استيقظ من النوم كل ليلة آخر آل عمران من قوله تعالى: {إن في خلق السموات والأرض إلى أخرها ، فقد ثبت في الصحيحين (أن رسول الله صلى الله عليه وسلم كان يقرأ خواتيم آل عمران إذا استيقظ).
(فصل: فيما يقرأ عند المريض) يستحب أن يقرأ عند المريض بالفاتحة لقوله صلى الله عليه وسلم في الحديث الصحيح فيها وما أدراك أنها رقية ويستحب أن يقرأ عنده قل هو الله أحد ، وقل أعوذ برب الفلق ، وقل أعوذ برب الناس مع النفث في اليدين ، فقد ثبت في الصحيحين من فعل رسول الله صلى الله عليه وسلم ، وقد يقدم بيانه في فصل النفث في آخر الباب الذي قبل هذا ، وعن طلحة بن مطرف قال: كان المريض إذا قرئ عنده القرآن ، وجد لذلك خفة ، فدخلت على خيمة وهو مريض ، فقلت إني أراك اليوم صالحا ، فقال إني قرئ عندي القرآن ، وروى الخطيب أبو بكر البغدادي رحمه الله بإسناده: أن الرمادي رضي الله عنه كان إذا اشتكى شيئا قال هاتوا أصحاب الحديث فإذا حضروا قال: اقرءوا على الحديث ، فهذا في الحديث فالقرآن أولى.
(فصل: فيما يقرأ عند الميت) قال العلماء من أصحابنا وغيرهم: يستحب أن تقرأ عنده يس لحديث معقل بن يسار رضي الله عنه أن النبي صلى الله عليه وسلم قال أقرءوا يس على موتاكم رواه أبو داود و النسائي في عمل اليوم والليلة و ابن ماجه بإسناد ضعيف ، وروى مجالد عن الشعبي قال: كانت الأنصار إذا حضروا عند الميت قرءوا سورة البقرة ، و مجالد ضعيف ، والله أعلم

ค่อยมาแปลต่อครับพี่น้อง

       
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ ILHAM

  • เพื่อนตาย T_T
  • *****
  • กระทู้: 11348
  • เพศ: ชาย
  • Sherlock Holmes
  • Respect: +273
    • ดูรายละเอียด
    • ILHAM
กุลทั้ง2ที่เรียกว่า มูเอาวีซาเตน แปลว่าอะไรหรือ
إن شاءالله ติด ENT'?everybody

Sherlock Holmes said "How often have I said to you that when you have eliminated the impossible, whatever remains, however improbable, must be the truth?"
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด
กุล   อะอูซุ     บิรอบบิลฟะลัก จงกล่าวเถิดฉันขอความคุ้มครองด้วยกับรอบบิลฟะลัก

กุล  อะอูซุ    บิรอบบินนาส จงกล่าวเถิดฉันขอความคุ้มครองด้วยกับรอบบินนาส

มุเอาวิซะตัยน์
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด


فصل): ويستحب أن يقرأ سورة الكهف يوم الجمعة الحديث أبي سعيد الخدري رضي الله عنه وغيره فيه قال الإمام الشافعي في الأم: ويستحب أن يقرأها أيضا ليلة الجمعة ودليل هذا ما رواه أبو محمد الدارمي بإسناده عن أبي سعيد الخدري


 رضي الله عنه قال من قرأ سوة الكهف ليلة الجمعة أضاء له النور فيما بينه وبين البيت العتيق وذكر الدرامي حديثا في استجاب قراءة سورة هود يوم الجمعة ، وعن مكحول التابعي الجليل استحباب قراءة آل عمران يوم الجمعة.

บท(ฟัสลุน) และมุสตะฮับ ให้อ่านซูเราะฮฺ อัลกะฮฺฟี ในวันศุกร์ ในหะดีษที่รายงานจาก อะบูซะอีด อัลคุดรี่ รอดิยัลลอฮฺและอื่นๆจากเขา อิหม่ามชาฟีอีได้กล่าวไว้ในหนังสืออัลอุมว่า และมุสตะฮับ ให้อ่านซูเราะฮฺกะฮฺฟี เช่นกันในคืนวันศุกร์(วันพฤหัสตอนกลางคืน)และหลักฐานนี้ได้มีรายงานจากอบูมุหัมหมัด อัดดาริมี่ ด้วยกับสายรายงานของเขา จากอบูซะอีด อัลคุดรี่ รอดิยัลลอฮุอันฮูกล่าวว่า ใครก็ตามที่อ่านซูเราะฮฺอัลกะฮฺฟี ในคืนวันศุกร์นั้น จะมีรัศมีเกิดขึ้นแก่เขาในระหว่างเขาและบัยตุลอะตีก(กะอฺบะฮฺ)และท่านดาริมี่ได้กล่าวไว้ถึงหะดีษที่มุสตะฮับให้อ่านซูเราะฮฺ ฮูด ในวันศุกร์
และจากมักฮูลซึ่งเป็นตาบิอีนที่สูงส่ง ชอบให้ทำการอ่าน ซูเราะฮฺอาลิอิมรอน ในวันศุกร์.
(فصل): ويستحب الإكثار من تلاوة آية الكرسي في جميع المواطن ، وأن يقرأها كل ليلة إذا أوى إلى فراشه ، وأن يقرأ المعوذين عقب كل صلاة ، فقد صح عن عقبة بن عامر رضي الله عنه قال أمرني رسول الله صلى الله عليه وسلم أن أقرأ المعوذين دبر كل صلاة رواه أبو داود و الترمذي و النسائي. قال الترمذي: حديث حسن صحيح.
บท(ฟัสลุน) และมุสตะฮับ ให้มากในการอ่านอายัตกุรซีในทุกสถานที่และให้อ่านอายะฮฺกุรซีในทุกๆคืนเมื่อโน้มตัวลงไปยังที่นอน(คือเมื่อจะนอน) และให้อ่านมุอัววิซัยน(อัลฟะลักอันนาส)ทุกๆหลังละหมาด ซึ่งได้มีหะดีษที่ซอฮีฮฺจากอุกบะฮฺ บินอามิร รอดิยัลลอฮุอันฮู กล่าวว่า
 ท่านรอซูลุลอฮฺซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้สั่งให้ฉันอ่านมุเอาวิซัยน(สองกุล)ทุกๆหลังละหมาด รายงานโดย อบูดาวุด และติรมิซี และนะซะอี และท่านติรมิซีได้กล่าวว่า เป็นหะดีษที่หะสัน ซอฮีฮฺ.

(فصل): يستحب أن يقرأ عند النوم آية الكرسي ، وقل هو الله أحد ، والمعوذين وآخر سور ة البقرة ، فهذا مما يهتم له ويتأكد الاعتناء به ، فقد ثبت فيه أحاديث صحيحة عن أبي مسعود البدري رضي الله عنه أن رسول الله صلى الله عليه وسلم قال الآيتان من آخر سورة البقرة من قرأها في ليلة كفتاه قال جماعة من أهل العلم: كفتاه عن قيام الليل ، وقال آخرون: كفتاه المكروه في ليلته وعن عائشة رضي الله عنها أن النبي صلى الله عليه وسلم كان كل ليلة يقرأ قل هو الله أحد والمعوذين وقد قدمناه في فصل النفث بالقرآن ،

บท(ฟัสลุน) และมุสตะฮับ ให้อ่านอายะฮฺกุรซีเมื่อจะนอน และกุลฮุวัลลอฮุอะฮัด  และมุเอาวิซัยนฺ( อัลฟะลักอันนาส) และส่วนท้ายของซูเราะฮฺ อัลบะกอเราะฮฺ และนี่แหละคือส่วนที่จะต้องให้ความสำคัญ และให้เน้นหนักในการให้ความสนใจด้วยกับการซูเราะฮฺดังกล่าวนี้ ซึ่งได้มีหลักฐาน จากฮะดีษต่างๆที่ซอฮีฮฺ จากอบูมัสอูด อัลบัดรี่ รอฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านรอซูลุลลอฮิซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า ใครก็ตามได้อ่านสองอายะฮฺสุดท้ายของซูเราะฮฺอัลบะกอเราะฮฺในเวลากลางคืน นั้นกะฟะตาฮุ
กลุ่มหนึ่งจากผู้รู้อธิบายว่ากะฟะตาฮุ นั้นหมายถึง เป็นการเพียงพอแล้วจากการที่เขาจะละหมาดในเวลากลางคืน(คือเหมือนกับได้ละหมาดทั้งคืน)และอีกกลุ่มหนึ่งได้ให้ความหมายว่าเพียงพอแล้วจากความชั่วในคืนนั้น)และจากท่านหญิงอาอิชะฮฺรอฎิยัลลอฮุอันฮา (กล่าวว่า)ปรากฎว่าท่านนบีซอลลอลฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้อ่านในทุกๆคืน คือกุลฮุวัลลอฮุอะหัด และมุเอาวิซัยน์ (สองกุล)
 ซึ่งเราได้กล่าวไว้แล้วในบท อันนัฟษฺ บิลกุรอ่าน.

 

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มี.ค. 27, 2009, 04:43 PM โดย bashir »
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ ILHAM

  • เพื่อนตาย T_T
  • *****
  • กระทู้: 11348
  • เพศ: ชาย
  • Sherlock Holmes
  • Respect: +273
    • ดูรายละเอียด
    • ILHAM
เราควรให้ความหมายมันว่ายังไง ผู้คุ้มครองทั้ง2 ได้หรือเปล่า
إن شاءالله ติด ENT'?everybody

Sherlock Holmes said "How often have I said to you that when you have eliminated the impossible, whatever remains, however improbable, must be the truth?"
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด
 والمعوذين   ที่จริงคำนี้ผมคลางใจว่าจะอ่านยังไงดี

อ่านว่ามุเอาวิซีน

หรือมุเอาวิซัยน์

คือจะได้แปลว่าสามกุลหรือสองกุล  พี้น้องที่รู้ตรงนี้ช่วยบอกหน่อยละกันครับ
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ ILHAM

  • เพื่อนตาย T_T
  • *****
  • กระทู้: 11348
  • เพศ: ชาย
  • Sherlock Holmes
  • Respect: +273
    • ดูรายละเอียด
    • ILHAM
ถ้า2กุลก็ต้องเป็น กุลลัยน์ 3กุลก็กุลลีนสิ 555
แค่อยากรู้ความหมายของมันเท่านั้นเอง
إن شاءالله ติด ENT'?everybody

Sherlock Holmes said "How often have I said to you that when you have eliminated the impossible, whatever remains, however improbable, must be the truth?"
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Qortubah

  • บุคคลทั่วไป

والمعوذين   ที่จริงคำนี้ผมคลางใจว่าจะอ่านยังไงดี

อ่านว่ามุเอาวิซีน

หรือมุเอาวิซัยน์

คือจะได้แปลว่าสามกุลหรือสองกุล  พี้น้องที่รู้ตรงนี้ช่วยบอกหน่อยละกันครับ


โดยปกติแล้วจะเรียก قل أعوذ برب الفلق กับ قل أعوذ برب الناس ว่า المعوذتان (อัลมุเอาวิซะตาน) หรือ المعوذان (อัลมุเอาวิซาน) แปลว่าสูเราะฮฺที่เริ่มด้วย الاستعاذة (ขอความคุ้มครอง) ทั้งสอง

บ่อยครั้งที่เราจะพบประโยคที่ว่า "ส่งเสริมให้อ่านอัลมุเอาวิซะตัยน์ และอัลอิคลาศ" หรือ "อัลมุเอาวิซัยน์ และกุลฮุวัลลอฮฺ" ซึ่งก็หมายความว่า ให้อ่าน สองสูเราะฮฺข้างต้น+กุลฮุวัลลอฮฺ นั่นเอง

แต่บางครั้ง อาจเรียก قل أعوذ برب الفلق, قل أعوذ برب الناس และ قل هو الله أحد รวมๆกันว่า المعوذات الثلاث แปลว่า สูเราะฮฺที่เริ่มด้วย الاستعاذة ทั้งสามก็ได้ ทั้งที่ قل هو الله أحد ไม่ได้เริ่มด้วย الاستعاذة แต่เป็นการเรียก على سبيل التغليب กล่าวคือ ทั้งสามสูเราะฮฺนี้อยู่ด้วยกันบ่อย เลยเรียกรวมๆกัน ประหนึ่งว่ามันเหมือนกันซะเลย


ในหนังสือข้างต้น อิหม่ามนะวะวีย์กล่าวว่า

يستحب أن يقرأ عند النوم آية الكرسي ، وقل هو الله أحد ، والمعوذين

"และส่งเสริมให้อ่าน อายะฮฺกุรสีย์ กุลฮุวัลลอฮุอะหัด และอัลมุเอาวิซัยน์"

ตรงนี้ ต้องเป็นอัลมุเอาวิซัยน์ (สูเราะฮฺทั้งสองที่เริ่มด้วยอะอูซุ) ครับ


ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด
ขอบคุณครับ

แต่ว่าบางทีเขาเขียนว่า มุเอาวิซัยน และบางทีเขียนว่ามุเอาวิซะตัยน

  والمعوذين    والمعوذتين

แล้วอันไหนที่ถูก หรือขึ้นอยู่กับนะฮู หรือว่าพิมพ์ผิด ครับ
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด

   
وروى عن أبي داود بإسناده عن علي كرم الله وجهه قال: ما كنت أرى أحد يعقل دخل في الاسلام ينام حتى يقرأ آية الكرسي ، وعن علي كرم الله وجهه أيضا قال ما كنت أرى أحد يعقل ينام قبل أن يقرأ الآيات الثلاث الأواخر من سورة البقرة إسناده صحيح على شرط البخاري و مسلم ، و عن عقبة ابن عامر رضي الله عنه قال: قال لي رسول الله صلى الله عليه وسلم لا تمر بك ليلة إلا وأنا أقرؤهن وعن إبراهيم النخعي قال (كانوا يستحبون أن يقرؤوا هذه السور كل ليلة ثلاث مرات قل هو الله أحد والمعوذتين) إسناده صحيح على شرط مسلم ،


และได้รายงานจากอบูดาวุด ด้วยกับสายรายงานของท่าน จากท่านอลี กัรรอมัลลอฮุวัจยะฮะฮู (อลีบินอบีตอลิบ) ได้กล่าวว่า ฉันไม่เคยเห็นใครที่มีสติปัญญา(อัลอักลุ)ที่ได้เข้ารับอิสลามแล้วแล้วเขานอน เว้นแต่ว่าเขาจะอ่าน อายะฮฺกุรซี และจากท่านอลี กัรรอมัลลอฮุวัจยะฮฺเช่นกัน ท่านได้กล่าวว่า ฉันไม่เคยเห็นใครที่มีสติปัญญา(อัลอักลุ) เว้นแต่ว่าก่อนที่เขาจะนอนนั้นได้ทำการอ่านสามอายะฮฺสุดท้ายของซูเราะฮฺบะกอเราะฮฺ   สายรายงานฮะดีษนี้ซอฮีฮฺ ตามเงื่อนไขของบุคอรีและมุสลิม  จากท่านอุกบะฮฺ อิบนิ อามิร รอฎิยัลลอฮุอันฮู ได้กล่าวว่า ท่านรอซูลุลลอฮฺซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวแก่ฉันว่า กลางคืนจะไม่ผ่านท่านไปเว้นแต่ว่าฉันจะอ่านสามอะยะฮฺสุดท้ายของซูเราะฮฺบะกอเราะฮฺ และจากท่านอิบรอฮีม อันนัคอี ได้กล่าวว่า ปรากฏว่าพวกเขาชอบที่จะทำการอ่านซูเราะฮฺเหล่านี้ในทุกๆคืนคือกุลฮุวัลลอฮุอะหัด และมุเอาวิซะตัยน์ (อัลฟะลักอันนาส) อ่านสามครั้ง สายรายงานหะดีษนี้ซอฮีฮฺตามเงื่อนไขของมุสลิม

 وعن إبراهيم أيضا كانوا يعلمونهم إذا أووا إلى فراشهم أن يقرؤوا المعوذتين ، وعن عائشة رضي الله عنها كان النبي صلى الله عليه وسلم لا ينام حتى يقرأ الزمر وبني إسرائيل رواه الترمذي وقال حسن ويستحب أن يقرأ إذا استيقظ من النوم كل ليلة آخر آل عمران من قوله تعالى: {إن في خلق السموات والأرض إلى أخرها ، فقد ثبت في الصحيحين (أن رسول الله صلى الله عليه وسلم كان يقرأ خواتيم آل عمران إذا استيقظ).

และจากท่านอิบรอฮีมเช่นกันปรากฏว่าพวกเขาได้ทำการสอนพวกเขา หากว่าได้เอนตัวลงไปยังที่นอนก็ให้อ่านมุเอาวิซะตัยน์(อัลฟะลัก อันนาส) และจากท่านหญิงอาอิชะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า ปรากฏว่าท่านนบีซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม จะไม่นอนเว้นแต่ว่าท่านจะอ่าน อัซซุมัร และ บนีอิสรออีล รายงานโดยติรมิซี และกล่าวว่าหะซัน (ดี)
และมุสตะฮับเมื่อตื่นจากการนอนในทุกๆคืนให้อ่าน ส่วนท้ายของอาลิอิมรอน จากคำกล่าวของอัลลอฮฺตะอาลา  ว่า อินนะฟีคอลกิสสะมาวาติวัลอัรดฺ อ่านต่อไปจนจบ ซึ่งได้มีรายงานจากซอฮีฮฺทั้งสอง(บุคอรีและมุสลิม)ว่าปรากฎว่าท่านรอซูลุลลอฮฺ ซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมนั้นได้อ่านในส่วนสุดท้ายของอาลิอิมรอนเมื่อท่านตื่นขึ้นมา.
(فصل: فيما يقرأ عند المريض) يستحب أن يقرأ عند المريض بالفاتحة لقوله صلى الله عليه وسلم في الحديث الصحيح فيها وما أدراك أنها رقية ويستحب أن يقرأ عنده قل هو الله أحد ، وقل أعوذ برب الفلق ، وقل أعوذ برب الناس مع النفث في اليدين ، فقد ثبت في الصحيحين من فعل رسول الله صلى الله عليه وسلم ، وقد يقدم بيانه في فصل النفث في آخر الباب الذي قبل هذا ، وعن طلحة بن مطرف قال: كان المريض إذا قرئ عنده القرآن ، وجد لذلك خفة ، فدخلت على خيمة وهو مريض ، فقلت إني أراك اليوم صالحا ، فقال إني قرئ عندي القرآن ، وروى الخطيب أبو بكر البغدادي رحمه الله بإسناده: أن الرمادي رضي الله عنه كان إذا اشتكى شيئا قال هاتوا أصحاب الحديث فإذا حضروا قال: اقرءوا على الحديث ، فهذا في الحديث فالقرآن أولى.

บทว่าด้วยการอ่าน ณ ที่คนป่วย และมุสตะฮับให้อ่าน ณ ที่คนป่วย ด้วยกับซูเราะฮฺอัลฟาติฮะฮฺ ดังคำกล่าวของท่านนบีซอลลอลอฮุอะลัยฮิวะซํลลัม ในหะดีษซอฮีฮฺ ที่กล่าวถึงเรื่องการอ่านฟาติฮะฮฺ ณ ที่คนป่วยว่า และอะไรทำให้ท่านรู้ว่านี้คือรุกยะฮฺ(การรักษาด้วยการเป่า) และมุสตะฮับให้อ่านกุลฮุวัลลอฮุอะหัดและกุลอะอูซุบิรอบบิลฟะลัก และกุลอะอูซุบิรอบบินนาส  ณ ที่คนป่วย  พร้อมกับเป่าในสองมือ
ซึ่งได้มีหลักฐานจาก ซอฮีฮฺทั้งสอง(บุคอรีมุสลิม) ท่านการกระทำของรอซูลุลลอฮฺ ซอลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม
ซึ่งเรื่องนี้ได้มีการอธิบายมาแล้วในบทว่าด้วยการเป่าในส่วนสุดท้ายของบทนั้น ซึ่งบทนั้นอยู่ก่อนบทนี้ และจากตอลฮะฮฺ บินมัตรอฟ กล่าวว่า ปรากฏว่ามีผู้ป่วยเมื่อได้มีการอ่านกุรอ่านให้ ณ ที่เขา จะพบว่าเขานั้นป่วยน้อยลง
แล้วฉันได้เคยเข้าไปหาคอยมะฮฺ ซึ่งเขานั้นป่วยอยู่ แล้วฉันก็ได้กล่าวแก่เขาว่า ฉันเห็นท่านวันนี้ดูดีขึ้น เขาก็ตอบว่า ฉันนี้ได้รับการอ่านกุรอ่าน และได้มีรายงานของท่านคอตีบ อบูบักร อัลบัฆดาดี รอฮิมะฮุลลอฮฺ ด้วยกับสายรายงานของท่าน ว่า ปรากฎว่า ท่านรอมาดี รอฎิยัลลอฮุอันฮุ หากเขามีปัญหาอะไร เขากล่าวว่า จงนำชาวหะดีษ แล้วเมื่อชาวหะดีษมา เขากล่าวว่า จงอ่านหะดีษให้แก่ฉัน ดังนั้นนี้คือหะดีษ ซึ่งกุรอ่านนั้นยิ่งดีกว่า.


(فصل: فيما يقرأ عند الميت) قال العلماء من أصحابنا وغيرهم: يستحب أن تقرأ عنده يس لحديث معقل بن يسار رضي الله عنه أن النبي صلى الله عليه وسلم قال أقرءوا يس على موتاكم رواه أبو داود و النسائي في عمل اليوم والليلة و ابن ماجه بإسناد ضعيف ، وروى مجالد عن الشعبي قال: كانت الأنصار إذا حضروا عند الميت قرءوا سورة البقرة ، و مجالد ضعيف ، والله أعلم


บทว่าด้วยการอ่าน ณ ที่คนตาย อุลามาอฺจากกลุ่มของเรา และอื่นๆจากพวกเขา ได้กล่าวว่า มุสตะฮับให้ทำการอ่าน ณ ที่คนตาย ด้วยกับซูเราะฮฺ ยาซีน จากหะดีษของมะอฺกอล บิน ยะซาร รอฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านนบีซอลลอลฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้กล่าวว่า จงอ่านยาซีนแก่ผู้ตายจากพวกท่าน รายงานโดยนะซาอี ในบท การอะมัลในวันและคืน และอิบนุมายะฮฺด้วยสายรายงานที่อ่อน และมุยาลิดได้รายงานจากชะอฺบี กล่าวว่า เมื่อชาวอันซอรได้ไปถึง ณ ที่คนตายนั้นได้ทำการอ่าน ณ ที่คนตาย ด้วยกับซูเราะฮฺอัลบะกอเราะฮฺ    และมุยาลิด นั้นดออีฟ (อ่อน)       วัลลอฮุอะอฺลัม 
     
           

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มี.ค. 28, 2009, 07:53 PM โดย bashir »
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ บาชีร

  • ปีสามสักที
  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2164
  • เพศ: ชาย
  • Respect: +59
    • ดูรายละเอียด
อัลฮัมดุลิลแปลจบสักที ผมเองก็ไม่รู้ว่าใครจะได้ประโยชน์บ้าง คือเรื่องวิชาการมันอาจจะดูเบื่อนะครับ

แต่ว่านะได้ประโยชน์อยู่แล้วครับ ฉะนั้นผมก็จะแปลต่อไปอีกในเรื่องอื่นๆ

ฟากบังกุรตุบาช่วยตอบคำถามของผมด้วยนะครับ หรือบังๆท่านอิ่่นๆ
นักเรียนปีสาม กฎหมายอิสลาม อัซฮัร ไคโร

ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com
ขอบคุณครับ

แต่ว่าบางทีเขาเขียนว่า มุเอาวิซัยน และบางทีเขียนว่ามุเอาวิซะตัยน

  والمعوذين    والمعوذتين

แล้วอันไหนที่ถูก หรือขึ้นอยู่กับนะฮู หรือว่าพิมพ์ผิด ครับ

คำว่า

المُعَوِّذَتَيْنِ

"อัลมุเอาวิซะตัยนฺ"

บังจะพบระบุไว้ในตำรามากมาย
أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

ออฟไลน์ ILHAM

  • เพื่อนตาย T_T
  • *****
  • กระทู้: 11348
  • เพศ: ชาย
  • Sherlock Holmes
  • Respect: +273
    • ดูรายละเอียด
    • ILHAM
ขนาดในปาตีเราะซียอยังเรียกว่า มูเอาวีซาตัยน์
إن شاءالله ติด ENT'?everybody

Sherlock Holmes said "How often have I said to you that when you have eliminated the impossible, whatever remains, however improbable, must be the truth?"
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Qortubah

  • บุคคลทั่วไป

ขอบคุณครับ

แต่ว่าบางทีเขาเขียนว่า มุเอาวิซัยน และบางทีเขียนว่ามุเอาวิซะตัยน

  والمعوذين    والمعوذتين

แล้วอันไหนที่ถูก หรือขึ้นอยู่กับนะฮู หรือว่าพิมพ์ผิด ครับ

คำว่า

المُعَوِّذَتَيْنِ

"อัลมุเอาวิซะตัยนฺ"

บังจะพบระบุไว้ในตำรามากมาย



ใช้ได้ทั้งสองแบบครับ ทั้งมุเอาวิซาน และมุเอาวิซะตาน เพราะเคยเจออุละมาอ์ท่านใช้ทั้งสองแบบ

แต่อาจจะใช้กันคนละ اعتبار กัน กล่าวคือ

มุเอาวิซะตาน >> ถืออิอฺติบารที่เป็นมุอันนัษ อาจจะเป็น السورتان المعوذتان
ส่วนมุเอาวิซาน >> อาจจะอิอฺติบารอื่น (นึกไม่ออกเหมือนกัน)


แต่ส่วนใหญ่ที่เคยเห็น จะใช้ว่า المعوذتان มากกว่า

วัลลอฮุอะลัม


ส่วนหนังสือเล่มนี้ของอิหม่ามนะวะวีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ ถือว่าเป็นตำราที่ยอดเยี่ยมมากเ่ล่มนึง (จิงๆตำราของท่านก็ยอดเยี่ยมทุกเล่มแหละครับ) ท่านได้รวบรวมมารยาทต่างๆ ที่ผู้ท่องจำและศึกษาอัลกุรอานพึงมี รวมไปถึงเกร็ดความรู้เกี่ยวกับอัลกุรอานมากมาย เชคท่านนึงเคยใช้ประกอบการสอนวิชาตัจวีดในห้องเรียนเมื่อนานมาแล้ว รู้สึกจะเคยทำรายงานเกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้ด้วย ไว้หาเจอแล้วจะเอามาเล่าสู่กันฟังนะครับ อินชาอัลลอฮฺ


ออฟไลน์ al-azhary

  • ผู้มีอิทธิพล (~_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 6202
  • เพศ: ชาย
  • อัลเลาะฮ์เท่านั้นที่มีอยู่จริง
  • Respect: +272
    • ดูรายละเอียด
    • http://www.sunnahstudents.com

 salam

เกล็ดความรู้ครับ  คำว่า  المعوذتين  นั้นอ่านได้ 2 รูปแบบ

ท่านอิมามอัลฟากิฮีย์ได้กล่าวว่า

المعوَِّذتين : بِكَسْرِ الْوَاوِ وَفَتْحِهَا لِمَا فِيْهِمَا مِنَ الْفَضْلِ الْعَظِيْمِ

อัลมุเอาวิซะตัยน์ , อัลมะเอาวะซะตัยน์ : ในลักษณะที่ถูกอ่านด้วยกัสเราะห์วาวและฟัตฮะห์วาว  เนื่องจากในทั้งสอง(ซูเราะฮ์)นั้นมีคุณค่าที่ยิ่งใหญ่" หนังสืออัลกิฟายะฮ์ ชัรห์บิดายะตุลฮิดายะฮ์ ของท่านอิมาม อัลลามะฮ์ อัลฟากิฮีย์ หน้า 214

ดังนั้นถ้าหากเราอ่านว่า المُعَوِّذَتَيْنِ  ً"อัลมุเอาวิซะตัยน์" ก็จะหมายถึง "สองซูเราะฮ์ที่ใช้ในการปกป้องคุ้มครอง(จากอัลเลาะฮ์)"

แต่ทว่าหากเราอ่านว่า المُعَوَّذَتَيْنِ   ً"อัลมุเอาวะซะตัยน์ "ก็จะหมายถึง "สองซูเราะฮ์ที่ถูกใช้ในการปกป้องคุ้มครอง(จากอัลเลาะฮ์)"

หมายถึงในสองซูเราะฮ์ อันนาสและอัลอะลักนั้น  มีคุณค่าในการปกป้องคุ้มครองและจะถูกนำมาใช้ในการอ่านเพื่อขอความคุ้มครองจากอัลเลาะฮ์

วัลลอฮุอะลัม

أُحِبُّ الصَّالِحِيْنَ وَلَسْتُ مِنْهُمْ     لَعَلَّ اللهَ يَرْزُقُنِيْ صَلاَحاً

 

GoogleTagged