ผู้เขียน หัวข้อ: สุขภาพกับการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน  (อ่าน 13724 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ abumuslimeen

  • เพื่อนใหม่ (O_0)
  • *
  • กระทู้: 24
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
    • www.abumuslimeen.com
Re: สุขภาพกับการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
« ตอบกลับ #15 เมื่อ: ก.ย. 02, 2009, 06:17 AM »
0
บทความ : วงการแพทย์กับการถือศลอด งดกินข้าวปลา



Medical Benefits of Fasting (Ramadan)


        Most Submitters (Muslims) do not fast because of medical benefits but because it has been ordained to them in the Quran. The medical benefits of fasting are as a result of fasting.

          Fasting in general has been used in medicine for medical reasons including weight management, for rest of the digestive tract and for lowering lipids. There are many adverse effects of total fasting as well as so-called crash diets. Islamic fasting is different from such diet plans because in Ramadan fasting, there is no malnutrition or inadequate calorie intake. The caloric intake of Muslims during Ramadan is at or slightly below the national requirement guidelines. In addition, the fasting in Ramadan is voluntarily taken and is not a prescribed imposition from the physician.

          Ramadan is a month of self-regulation and self-training, with the hope that this training will last beyond the end of Ramadan. If the lessons learned during Ramadan, whether in terms of dietary intake or righteousness, are carried on after Ramadan, it is beneficial for one’s entire life. Moreover, the type of food taken during Ramadan does not have any selective criteria of crash diets such as those which are protein only or fruit only type diets. Everything that is permissible is taken in moderate quantities.

          The only difference between Ramadan and total fasting is the timing of the food; during Ramadan, we basically miss lunch and take an early breakfast and do not eat until dusk. Abstinence from water during this period is not bad at all and in fact, it causes concentration of all fluids within the body, producing slight dehydration. The body has its own water conservation mechanism; in fact, it has been shown that slight dehydration and water conservation, at least in plant life, improve their longevity.

          The physiological effect of fasting includes lower of blood sugar, lowering of cholesterol and lowering of the systolic blood pressure. In fact, Ramadan fasting would be an ideal recommendation for treatment of mild to moderate, stable, non-insulin diabetes, obesity and essential hypertension. In 1994 the first International Congress on "Health and Ramadan," held in Casablanca, entered 50 research papers from all over the world, from Muslim and non-Muslim researchers who have done extensive studies on the medical ethics of fasting. While improvement in many medical conditions was noted; however, in no way did fasting worsen any patients’ health or baseline medical condition. On the other hand, patients who are suffering from severe diseases, whether diabetes or coronary artery disease, kidney stones, etc., are exempt from fasting and should not try to fast.

          There are psychological effects of fasting as well. There is a peace and tranquility for those who fast during the month of Ramadan. Personal hostility is at a minimum, and the crime rate decreases. ... This psychological improvement could be related to better stabilization of blood glucose during fasting as hypoglycemia after eating, aggravates behavior changes. ... Similarly, recitation of the Quran not only produces a tranquility of heart and mind, but improves the memory.

          [2:185] Ramadan is the month during which the Quran was revealed, providing guidance for the people, clear teachings, and the statute book. Those of you who witness this month shall fast therein. Those who are ill or traveling may substitute the same number of other days. GOD wishes for you convenience, not hardship, that you may fulfill your obligations, and to glorify GOD for guiding you, and to express your appreciation.

International Community of Submitters / Masjid Tucson
http://www.masjidtucson.org/contact.html
ICS / Masjid Tucson
PO Box 43476Tucson, AZ 85733
U.S.A.
                   

 

ข้อมูลโดย : สมาคมมุสลิมสากล  มัสยิดตัคสัน  สหรัฐอเมริกา
แปลโดย : anti-bid'ah



การถือศีลอดกับประโยชน์ทางการแพทย์


        อนึ่ง มุสลิมส่วนมากมิได้มีใจสเหน่หาที่จะถือศิลอดเพราะประโยชน์ทางการแพทย์  แต่เพราะการถือศิลอดนั้นเป็นคำสั่งจากพระเจ้า อย่างไรก็ตามการถือศิลอดยังมีประโยชน์ในแง่ของวงการแพทยศาสตร์

          โดยทั่วไปแล้วการอดอาหารมีส่วนกี่ยวข้องกับวงการแพทย์ในการรักษาโรคและการ ควบคุมอาหาร  การหยุดพักการทำงานของระบบย่อยอาหารชั่วคราว และการลดระดับลิพิด(ผู้แปล-ไขมันซึ่งเป็นสสารที่ไม่สามารถละลายในน้ำได้)  การอดอาหารส่งผลเสียหลายประการด้วยกัน เรียกว่า การลดความอ้วนสู่หายนะ อย่างไรก็ตามการอดอาหารแบบอิสลามมีความแตกต่างกับการอดอาหารเพื่อสรีระร่าง กาย เพราะการถือศีลอดในช่วงเดือนรอมาฏอน(ผ้แปล-เป็นเดือนหนึ่งตามแบบอิสลาม จำนวนของเดือนอิสลามจะต่างกับเดือนสากล กล่าวคือเดือนอิสลามมี 29vหรือ30 วัน แต่เดือนสากลมี 28 หรือ 29 หรือ30 วัน) มิได้เข้าข่ายที่จะเกี่ยวข้องกับภาวะขาดสารอาหาร หรือ การบริโภคพลังงานความร้อนอย่างไม่เพียงพอ ปัจจัยในการบริโภคพลังงานของมุสลิมในช่วงเดือนรอมาฏอน ขึ้นอยู่กับกับความต้องการของประชาชนในการบรโภค กล่าวอีกในหนึ่งได้ว่า การถือศิลอดเป็นการกระทำโดยสมัครใจ มิได้มีผลเสียในทางวงการแพทย์แต่อย่างใด

          เดือนรอมาฏอนเนเดือนที่มีกฏข้อบังคับและฝึกฝนตัวเองในตัวและหวังว่าการฝึกฝน ดังกล่าวจะดำเนินเรื่อยไปจนกระทั่งสิ้นสุดสุดท้ายของเดือนรอมาฏอน  หากบทเรียนที่ได้รับในช่วงเดือนรอมาฏอน ไม่ว่าจะบริโภคอาหารเพื่อลดความอ้วนหรือเพื่อความดี ยังดำเนินต่อไปแม้ว่าเดือนรอมาฏอนจะหมดแล้วก็ตามที  ดังกล่าว ถือเป็นการดีสำหรับรูปแบบการดำเนินชั่วชีวิตของเขา  ยิ่งไปกว่านั้นการบริโภคอาหารต่างในช่วงเดือนรอมาฏอนมิได้มีกฏเกณฑ์ในการ เลือกรับประทานอาหารแต่ประการใดว่าจะต้องเป็นอาหารประเภทโปรตีนหรือผลไม้ เพื่อลดความอ้วน  แต่ควรบริโภคอาหารทุกประเภทที่เป็นที่อนุญาตตามปริมาณที่เหมาะสม

          ความแตกต่างระหว่างการถือศิลอดช่วงเดือนรอมาฏอนกับการอดอาหารทั่วไปคือช่วง เวลาการรับประทานอาหาร  กล่าวคือ ในช่วงเดือนรอมาฏอน  โดยทั่วๆไปแล้ว  เราไม่รับประทานอาหารกลางวัน แต่จะรับประทานอาหารเช้าแต่เนิ่นๆ และจะไม่รับประทานอาหารกว่าจะโพล้เพล้เสียก่อน  การควบคุมตัวเองจากการดื่มน้ำในช่วงถือศิลอดมิได้เป็นอันตรายแต่ประการใด  แท้จริงแล้ว การถือศิลอดเป็นสาเหตุทำให้เระดับความเข้มข้นของของเหลวในร่างกายลดการสู ยเสียน้ำได้ในระดับหนึ่ง  ร่างกายจะมีอวัยวะในส่วนต่างคอยป้องกันการสูญเสียน้ำในร่างกาย
ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการศูญเสียน้ำเพียเล็กน้อยและการ้องกันการญญเสียน้ำ อย่างน้อยๆแล้วในชีวิตของพืชนั้น้นช่วยยืดชีวิตให้ยาวขึ้น

          ผลลัพธ์การถือศิลอดในทางสรีรศาสตร์ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดคอเลสเตอรอล และลดความดันโลหิตสูงสุดที่เกิดขึ้นหลังระยะการบีบตัวของห้องหัวใจ การถือศิลอดช่วงเดือนรอมาฏอนเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในการแสดงออกถึงความ ถ่อมตนตามแนวทางสายกลาง สงบจิตสงบใจ โรคเบาหวานมี่ไม่ต้องใช้อินซูลิน (ฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด) ลดน้ำหนักมที่ากเกินไปและคลดวามดันโลหิตสูง  ในปี ค.ศ1994 การประชุมนานาชาติ ในหัวข้อ “สุขภาพกับเดือนรอมาฏอน” ณ รัฐกาซาบลังกา (รัฐหนึ่งของโมรอกโค) มีการนำผลการวิจัยอย่างละเอียดจำนวน 50 เล่ม จากทั่วทุกมุมโลก ซึ่งมีนักวิจัยทั้งมุสลิมและมิใช่มุสลิมไม่ใช่มุสลิมนำเสนอผลการศึกษา จริยธรรมการรักษาทางการแพทย์ด้วยการถือศิลอด  ขณะที่มีการบันทึกความเจริญก้าวหน้าด้านสุขภาพทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามเป็นไปไม่ได้เลยที่การถือศิลอดจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพในการ รักษาทางการแพทย์ต่อผู้ป่วย อีกประการหนึ่ง ผู้ป่วยที่ทุกข์ทรมานจากโรคร้ายแรงต่างๆไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ที่หัวใจอุตตัน นิ่วในไต เป็นต้น โรคดังกล่าวเป็นโรคที่ได้รับการยกเว้น จากการถือศิลอดและควรหลีกเลี่ยงการถือศิลอด

          ผลลัพธ์การถือศิลอดทางจิตวิทยาก็เช่นกัน  ทำให้ผู้ที่ถือศิลอดช่วงเดือนรอมาฏอนเกดความสันติ และ สงบ การมาดร้าย อาฆาตของแต่ละบุคคลลดน้อย ถอยลง การกระทำที่ผิดศิลธรรมลดลง  วิวัฒนาการทางจิตวิทยามีส่วนเกี่ยวโยงกับเสถียรภาพของกลูโกสในเลือดในช่วง การอดอาหารเนื่องจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะทางจิตยังมีส่วยยั่วยุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมอีกด้วย  ฉันใดก็ฉันนั้น การท่องจำพระมหาคัมภีห์อัลกุรอานไม่ใช่แค่เพิ่มความขันติธรรมในจิตใจเท่า นั้นแต่ยังช่วยพํฒนาความทรงจำอีกด้วย

          อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ได้ทรงตรัส ความว่า
          "เดือนรอมฏอนนั้น เป็นเดือนที่อัลกรุ-อานได้ถูกประทานลงมาในฐานะเป็นข้อแนะนำสำหรับมนุษย์ และเป็นหลักฐานอันชัดเจนเกี่ยวกับข้อแนะนำนั้น และเกี่ยวกับสิ่งที่จำแนกระหว่างความจริงกับความเท็จดังนั้นผู้ใดในหมูพวก เจ้าเข้าอยู่ในเดือนนั้นแล้ว ก็จงถือศีลอดในเดือนนั้น และผู้ใดป่วย หรืออยู่ในการเดินทาง ก็จงถือใช้ในวันอื่นแทนอัลลอฮ์ทรงประสงค์ให้มีความสะดวกแก่พวกเจ้า และไม่ทรงให้มีความลำบากแก่พวกเจ้าและเพื่อที่พวกเจ้าจะได้ให้ครบถ้วน ซึ่งจำนวนวัน(ของเดือนรอมฏอน) และเพื่อพวกเจ้าจะได้ให้ความเกรียงไกรแด่อัลลอฮ์ในสิ่งที่พระองค์ทรงแนะนำ แก่พวกเจ้าและเพื่อพวกเจ้าจะขอบคุณ" (2: 185)


วัลลอฮุอะอฺลัมบิศศ่อวาบ
วัสสลามุอะลัยกุม วะรอห์มะตุลลอฮิ วะบะรอกาตุฮฺ


อ้างอิงจาก: คุณ anti-bid'ah

http://www.sunnahstudents.com/forum/index.php?topic=5022.msg50885#msg50885

ออฟไลน์ al-firdaus~*

  • ทีมงานหลังบอร์ด (-_-''')
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 5015
  • เพศ: หญิง
  • 可爱
  • Respect: +161
    • ดูรายละเอียด
Re: สุขภาพกับการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
« ตอบกลับ #16 เมื่อ: ส.ค. 10, 2010, 08:57 PM »
0
 mycool: mycool: mycool:

ออฟไลน์ AUZULODEEN

  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 625
  • เพศ: ชาย
  • ทุกๆชีวิตต้องได้ลิ้มรสแห่งความตาย
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: สุขภาพกับการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
« ตอบกลับ #17 เมื่อ: ส.ค. 11, 2010, 08:56 AM »
0
ถือศีลอดด้วย ทำงานกรรมกรด้วย จะได้รู้ว่าถึงไม่ได้กินก็ยังแรงดี ;D
แท้จริงเราเป็นสิทธิ์ของอัลลอฮ์ และเราจะต้องกลับคืนไปสู่พระองค์

ออฟไลน์ Bangmud

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2821
  • Respect: +127
    • ดูรายละเอียด
Re: สุขภาพกับการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
« ตอบกลับ #18 เมื่อ: ส.ค. 08, 2011, 09:26 AM »
0
 :salam:

น้อง ๆ นักศึกษาชวนไปพูดคุยเรื่องการถือศีลอดกับการแพทย์ ปรึกษา บังกูเกิ้ล เจอกระทู้นี้เลยขุดขึ้นมาทบทวน ใช้อ้างอิงได้ดีเลย

วัสสลาม

ออฟไลน์ Muftee

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1899
  • เพศ: ชาย
  • ตั้งใจเข้าไว้นะ มุฟตีย์น้อย
  • Respect: +190
    • ดูรายละเอียด
Re: สุขภาพกับการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
« ตอบกลับ #19 เมื่อ: ส.ค. 11, 2012, 01:50 AM »
0

ข้อดีของการถือศีลอด ในทางการแพทย์  mycool: mycool: mycool: mycool:
// อะฮฺลิสสุนนะฮฺ อัล-อะชาอิเราะฮฺ...สักวันนึง เราต้องเป็นอุละมาอฺที่ยิ่งใหญ่ อินชาอัลลอฮฺ //

ออฟไลน์ nada-yoru

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 4010
  • เพศ: หญิง
  • แสงและเงา
  • Respect: +134
    • ดูรายละเอียด
Re: สุขภาพกับการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
« ตอบกลับ #20 เมื่อ: ส.ค. 03, 2013, 10:16 PM »
0
การถือศีลอดมีข้อดีมากมาย ที่คนที่ยังไม่เคยลองปฏิบัติ
มักมองว่าเป็นเรื่องที่ทรมานตัวเอง...และเป็นเรื่องยากยิ่งที่จะทำได้



ความลับต่างๆเกี่ยวกับตัวเรา อัลลอฮฺจะค่อยๆเผยให้เราได้รู้ได้เข้าใจ
และได้เห็นแจ้ง เพื่อเป็นประจักษ์พยานว่า อัลกุรอานนั้น คือสัจธรรม
ที่มาจากพระองค์โดยแท้...

เราอาจจะไม่รู้อะไรในเชิงลึกมากมายเช่นนี้ หรืออาจจะไม่ใช่ผู้ค้นพบ
ที่ได้ผ่านคิดค้นวิจัยสิ่งต่างๆ...
แต่แค่เพียงเราเชื่อและศรัทธาต่อบทบัญญัติของอัลลอฮฺ และน้อมปฏิบัติอย่างจริงจัง
และจริงใจ เพียงแค่นี้ เราก็จะเป็นผู้ที่ประสบความสำเร็จได้ อินชาอัลลอฮฺ


ปล.ขุดมา แม้จะว่าจะช้าไปสักหน่อย เพราะใกล้จะหมดเดือนรอมาฎอนแล้ว
แต่มิต้องเสียใจไปนะคะ เพราะว่าเราสามารถถือศีลอดสุนัตได้...


"และข้ามิได้สร้างญิน และมนุษย์เพื่ออื่นใด เว้นแต่เพื่อเคารพภักดีต่อข้า"

(ซูเราะฮฺ อัซซาริยาต อายะอฺที่ 56)

 

GoogleTagged