تَنْبِيهٌ : ظَاهِرُ قَوْلِهِ ( وَلَا يَجْهَرُ بِشَيْءٍ مِنْ ذَلِكَ ) أَنَّهُ لَا يَجْهَرُ بِالْبَسْمَلَةِ سَوَاءٌ قُلْنَا هِيَ مِنْ الْفَاتِحَةِ أَوْ لَا ، وَهُوَ صَحِيحٌ ، وَصَرَّحَ بِهِ الْمَجْدُ فِي شَرْحِهِ ، وَقَالَ : الرِّوَايَةُ لَا تَخْتَلِفُ فِي تَرْكِ الْجَهْرِ ، وَإِنْ قُلْنَا هِيَ مِنْ الْفَاتِحَةِ.
หมายเหตุ : จากประโยคที่ (เจ้าของมะตันมุกนิอฺนั่นคือท่านอิบนุกุดามะฮฺ) กล่าวว่า "และไม่ต้องอ่านออกเสียงสิ่งเหล่านั้น (อะอูซุบิลลาฮฺ และบิสมิลลาฮฺ) แต่อย่างใด" เข้าใจได้ว่า ไม่ต้องอ่านบิสมิลลาฮฺเสียงดัง ไม่ว่าเราจะกล่าวว่ามันเป็นส่วนหนึ่งของฟาติหะฮฺหรือไม่ก็ตาม" ซึ่งนี่คือทัศนะที่ถูกต้อง เป็นทัศนะที่ท่านอัลมัจญด์กล่าวถึงในชัรหฺของท่าน และท่านกล่าวว่า "รายงาน (จากอิหม่ามอะหฺมัด) ไม่มีข้อขัดแย้งว่า ไม่ต้องอ่าน (บิสมิลลาฮฺ) เสียงดัง แม้ว่าเราจะกล่าวว่ามันคือส่วนหนึ่งของฟาติหะฮฺก็ตาม"
ในส่วนของอุลามะทัศนะของฮัมบาลีย์นั้นมีทั้งให้อ่านค่อยและดัง ก็ถือว่าเป็นที่เข้าใจ...
.แต่ทัศนะข้างล่างนี่ซิครับที่ผมไม่ค่อยเคลียร์ อยากให้บังบาชิรอธิบายอีกครั้งหนึ่งครับกับสิ่งที่ผมนำมา 
อ๋อ..ลืมบอกว่า นี่คือทัศนะของพี่น้องวาฮาบีที่ไม่สังกัดทัศนะหนึ่งทัศนะใด แต่เขาบอกว่าสิ่งที่เขายึดนั้นชัดเจนกว่าทุกๆทัศนะ..ตกลงว่ามันเป็นอย่างไรกันแน่ 
นี่เป็นทัศนะที่เชคอัลบานีย์ที่ได้ทำการเลือกเฟ้นแล้วเพื่อที่จะให้กับบรรดาผู้ที่รับตามทัศนะในการเลือกเฟ้นของเขา...ว่ามันถูกต้องที่สุด เขากล่าวว่า...
เหตุผลที่ท่านมีทัศนะว่าสุนนะฮฺให้อ่านค่อยในละหมาดดัง เพราะมีหลักฐานที่ถูกต้องและมีน้ำหนักกว่า (ตามทัศนะของท่าน) โดยที่ท่านยกหะดีษที่ใช้เป็นหลักฐานอ้างว่ามีสุนนะฮฺให้อ่านค่อยเฉพาะดังนี้ท่านกล่าวในศิฟาตเศาะลาตของท่านว่า
ثم يقرأ : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ } ولا يجهر بها
แล้วท่านก็ยกหลักฐานดังต่อไปนี้มาสนับสนุน
1. عن شعبة عن قتادة عن أنس :
أن النبي صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ، وأبا بكر ، وعمر رضي الله عنهما كانوا يفتتحون الصلاة بـ : { الحَمْدُ لِلَّهِ رَبِّ العَالَمِينَ } .
أخرجه البخاري (2/180) من " صحيحه " وفي " جزء القراءة " (12) ، ومسلم
(2/12) ، { وأبو عوانة [2/122] } ، والطحاوي (1/119) ، والدارقطني (119) ، والبيهقي
(2/51) ، والطيالسي (266) ، وأحمد (3/179 و 273 و 275) من طرق عنه به ، واللفظ
للبخاري
ولفظ مسلم ، { وأبي عوانة } ، والدارقطني ، والبيهقي، وأحمد في رواية :
صليت مع رسول الله صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ، وأبي بكر ، وعمر ، وعثمان ، فلم أسمع أحداً منهم يقرأ : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ } .
وكذلك لفظ الطحاوي ، إلا أنه قال :
يجهر بـ : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ } . وهو رواية للدارقطني له . وفي لفظ لأحمد :
فكانوا لا يجهرون بـ : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ } .
وكذلك رواه ابن حبان في " صحيحه " ، وزاد :
ويجهرون بـ : { الحَمْدُ لِلَّهِ رَبِّ العَالَمِينَ } - كما في " نصب الراية " (1/327) -
ورواه النسائي (1/144) من طريق عُقبة بن خالد قال : ثنا شعبة وابن أبي عروبة
عن قتادة عن أنس به ، بلفظ :
فلم أسمع أحداً منهم يجهر بـ : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ }
(ขอยกสายรยงานเดียวก่อน) ที่เหลือหาอ่านได้ในหนังสืออัศลศิฟะตุสเศาะลาตของอัลบานีย์
หลังจากนั้น ท่านได้รวมหะดีษที่ปฏิเสธการอ่านดังและหะดีษที่ระบุว่าอ่านค่อยโดยยกเอาคำพูดของอัลหาฟิซอิบนุหะญัรในฟัตหุลบารีย์ (2/181) ว่า
" فطريق الجمع بين هذه الألفاظ حملُ نفي القراءة على نفي السماع ، ونفي السماع
على نفي الجهر ، وتؤيده رواية منصور بن زاذان : فلم يسمعنا قراءة : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ
الرَّحِيمِ } . وأصرح من ذلك رواية الحسن عن أنس : كانوا يسرُّون بـ : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ
الرَّحِيمِ } . فاندفع بهذا تعليل من أعله بالاضطراب - كابن عبد البر - ؛ لأن الجمع إذا
أمكن ؛ تعين المصير إليه " .
แล้วท่านก็สรุปในตอนท้ายว่า
وبذلك يتبين أن حديث أنس حجة في كونه صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ كان يسر بالبسملة ، وكذلك
أصحابه الثلاثة ، ومثله حديث عبد الله بن مغفل . وقد قال الترمذي :
" والعمل عليه عند أكثر أهل العلم من أصحاب النبي صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ؛ منهم : أبو بكر وعمر
وعثمان ، وغيرهم ، ومن بعدهم من التابعين ، وبه يقول سفيان الثوري وابن المبارك ،
وأحمد ، وإسحاق ؛ لا يرون أن يجهر بـ : { بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ } ؛ قالوا : ويقولها
في نفسه " .
قلت : وهو مذهب أبي حنيفة ، وصاحبيه - كما حكاه الطحاوي وغيره - ، ونص
عليه الإمام محمد في " الآثار " (15 - 16) ، وبه قال أكثر أصحاب الحديث - كما قال الحازمي (56)
وخالفهم الإمام الشافعي ، وأصحابه ، وبعض من سبقه من الصحابة
والتابعين ؛ فقالوا بالجهر بها ، وأنه السنة
หลังจากนั้นท่านก็ยกหลักฐานต่างๆที่อิหม่ามอัชชาฟิอีย์ใช้เป็นหลักฐานและทำการวิพาษ
สรุปคำวิพากษ์ของท่านคือ หลักฐานของอิหม่ามอัชชาฟิอีย์ มีสองประเภท 1. หะดีษที่เศาะรีหฺ ระบุอย่างชัดเจนว่าท่านนบีอ่านดัง แต่สายรายงานอ่อน
2. หะดีษที่มีสายรายงานเศาะหีห แต่กลับไม่เศาะรีหฺ ไม่มีการระบุว่าอ่านบิสมิลลาฮิดัง ในละหมาดหรือนอกละหมาด
สุดท้ายแล้วท่านก็สรุปว่า
ที่ถูกต้องคือทัศนะของอุละมาอ์ส่วนใหญ่ที่ระบุสุนนะฮฺในการอ่านบิสมิลลา คือให้อ่านค่อยไม่ใช่ให้อ่านดัง فالحق ما ذهب إليه الجمهور
من أن السنة الإسرار بها .
ومع هذا ؛ فالصواب أن ما لا يجهر به ، قد يشرع الجهر به لمصلحة راجحة ؛ فيشرع
للإمام أحياناً لمثل تعليم المأمومين ، ويسوغ للمصلين أن يجهروا بالكلمات اليسيرة أحياناً
3.ที่สำคัญท่านอัลบานีสรุปว่า
การอ่านบิสมิลลาฮฺค่อยน่าจะสอดคล้องกับสุนนะนบีมากกว่า และอัฟฎ็อลกว่าการอ่านดังเท่านั้นเอง ถึงแม้ว่าบิสมิลลาฮฺจะเป็นหนึ่งในอายะฮฺของอัลฟาติหะฮฺ
แต่ในเมื่อสุนนะฮฺที่มีน้ำหนักกว่า (ตามทัศนะของท่าน) ระบุว่าท่านนบีอ่านค่อย ท่านจึงมีความเห็นว่าอัฟฎอลอ่านค่อย ส่วนการอัลหัมดุลิลลาฮฺ ไปจนถึงท้ายอายะฮฺ มีสุนนะฮฺว่านบีอ่านดัง
ดังนั้น ท่านจึงระบุว่าสุนนะฮฺให้อ่านดัง ด้วยประการฉะนี้
อ้างถึงบังบาชีร
ส่วนอิหม่ามอบูหะนีฟะฮฺถือว่าให้อ่านบัสมะละฮฺแบบเบาๆพร้อมกับการอ่านฟาติฮะฮฺในทุกรอกะอะฮฺ
และได้ถูกรายงานว่าท่านนั้นอ่านเฉพาะรอกะอะฮฺแรกเท่านั้น
ส่วนทัศนะของอิหม่ามชาฟิอีและอิหม่ามอะฮฺหมัดนั้นวายิบที่ต้องอ่านในละหมาด ในการอ่านเสียงดัง(ส่งเสริม)ให้อ่านเสียงดัง
และเสียงเบาก็(ส่งเสริม)ให้อ่านเสียงเบา.
ส่วนสาเหตุที่มีความแตกต่าง ดังที่เราได้กล่าวมาแล้วว่า
بِسْمِ اللهِ الرَّحْمنِ الرَّحِيمِِ เป็นอายะฮฺหนึ่งของอายะฮฺหนึ่งของการเริ่มต้นฟาติฮะฮฺ และการเริ่มต้นของการเริ่มต้นทุกซูเราะฮฺหรือไม่
และอีกสิ่งหนึ่งก็คือความแตกต่างของอาษาร(หะดีษ)ในเรื่องนี้
แล้วใครก็ตามที่ถือว่าบัสมะละฮฺเป็นอายะฮฺหนึ่งของฟาติฮะฮฺ และทุกๆซูเราะฮฺ เช่นอิหม่ามชาฟิอี ก็ถือว่าจำเป็น(วายิบ)ที่จะต้องอ่านพร้อมกับฟาติฮะฮฺ
และใครก็ตามที่ถือว่าบัสมะละฮฺนั้นไม่ใช่อายะฮฺหนึ่งของฟาติฮะฮฺ พร้อมกับยึดหะดีษต่างๆ ที่บ่งบอกว่าไม่มีการอ่านบัสมะละฮฺในละหมาด
เขาถือว่าห้ามที่จะอ่านในละหมาด เช่นอิหม่าม มาลิก
และใครที่เห็นว่า บัสมะละฮฺนั้น ไม่ได้เป็นอายะฮฺหนึ่งของฟาติฮะฮฺ
แต่เท่าที่ผมรู้มาอุลามะของเรา(มัสหับชาฟีอี)กล่าวไว้อย่างนี้ครับ
ท่าน อะนัส บิน มาลิก กล่าวว่า
صليت خلف النبى صلى الله عليه وسلم وأبى بكر وعمر وعثمان فكانوا يفتتحون القراءة بالحمد لله رب العالمين
"ฉันได้ละหมาดตามหลังท่านนบี ซ๊อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม , ท่านอบูบักร , ท่านอุมัร , ท่านอุษมาน ซึ่งพวกเขาได้ทำการเริ่มอ่าน อัลฮัมดุลิลลาฮิร๊อบบิลอาละมีน" ซอฮิหฺ บุคคอรีย์ เล่ม 2 หน้า 265
ท่านอิมาม อัตติรมีซีย์ ได้กล่าวหลังจากรายงานหะดิษนี้ว่า
قال الشافعى : إنما معنى الحديث أن النبى صلى الله عيه وسلم وأبا بكر وعمر وعثمان كانوا يفتتحون القراءة بـ(الحمد لله رب العالمين) معناه : أنهم كانوا يبدءون بقرأة فاتحة الكتاب قبل السورة وليس معناه أنهم كانوا لا يقراءون (بسم الله الرحمن الرحيم) وكان الشافعى يرى أن يبدأ بـ( بسم الله الرحمن الرحيم ) وأن يجهر بها إذا جهر بالقراءة
"ท่านอิมามอัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า แท้จริง ความหมายของหะดิษ คือ แท้จริง ท่านนบี ซ๊อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม , ท่านอบูบักร , ท่านอุมัร , ท่านอุษมาน นั้น
พวกเขาได้เริ่มอ่าน อัลฮัมดุลิลลาฮิร๊อบบิลอาละมีน ซึ่งหมายถึง พวกเขาได้เริ่มอ่าน อัลฟาติหะฮ์ก่อนจากอ่านซูเราะฮ์ แต่หะดิษไม่ใช่หมายความว่า
พวกเขาไม่ได้อ่าน บิสมิลลาฮิรเราะหฺมานิรร่อฮีม และท่านอัชชาฟิอีย์ มีทัศนะว่า ให้เริ่มอ่าน บิสมิลลาฮิรเราะหฺมานิรร่อฮีม และให้อ่านดังด้วยกับมัน เมื่อเขาได้(ละหมาดที่ให้)อ่านดัง" ดู สุนัน อัตติรมีซีย์ เล่ม 2 หน้า 16
ท่านอิมาม อัลค่อฏีบ อัชชัรบีนีย์ กล่าวว่า
وأجيب بأن معني الأول كانوا يفتتحون بسورة الحمد ، ويبينه ما صح عن أنس كما قال الدارقطنى : إنه كان يجهر بالبسملة ، وقال لا ألو أن أقتدى بصلاة النبي صلى الله عليه وسلم
"ตอบจากความหมายหะดิษแรก(ดังกล่าว) คือ พวกเขาเหล่านั้น ได้เริ่มการอ่าน ซูเราะฮ์ อัลฮัมดฺ และได้อธิบายกับความหมายหะดิษแรก(ดังกล่าว) โดยสิ่งที่มีรายงานซอฮิหฺจากท่านอะนัส
ตามที่ท่านอัดดารุกุฏนีย์ ได้กล่าวว่า "แท้จริงท่านอะนัสได้อ่าน บิสมิลลาฮิรเราะหฺมานิรร่อฮีม เสียงดัง และกล่าวว่า ฉันไม่บกพร่องกับการเจริญรอยตาม การละหมาดของท่านนบี ซ๊อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม"
ดู หนังสือ มุฆนีย์ อัลมั๊วะตาจญ์ เล่ม 1 หน้า 308
ได้มีการยืนยันว่า ท่านอะนัส บิน มาลิก ได้ทำการอ่าน บิสมิลลาฮิรเราะหฺมานิรร่อฮีม ซึ่งอิมามอัลบุคอรีย์ ได้รายงานว่า ท่านอะนัสถูกถามเกี่ยวกับการอ่านของท่านนบี ซ๊อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ท่าน อะนัสกล่าว่า
كانت مداَ ثمّ قرأ بسم الله الرحمن الرحيم يمد ببسم الله ويمد بالرحمن ويمد بالرحيم
"การอ่านของท่านนบีนั้นลากยาว หลังจากนั้น ท่านนบีได้อ่าน บิสมิลลาฮิรเราะหฺมานิรร่อฮีม โดยอ่านยาวกับ บิสมิลลาฮ์ และอ่านยาวกับ อัรเราะฮ์มาน และอ่านยาวกับ อัรร่อฮีม" ดู ฟัตหุลบารีย์ เล่ม 9 หน้า 91
สรุปแล้วบังบาชีรว่า ทัศนะทั้ง4ในเรื่องนี้นั้น อีม่ามท่านใดมีน้ำหนักมากกว่าครับ แต่เท่าที่อ่านการนำเสนอของบังแล้ว อีม่ามฮานาฟี,อีม่ามชาฟีอี,อีม่ามฮัมบาลีนี่มีมุมมองที่ใกล้เคียงกันมาก
และแตกต่างกับอีม่ามมาลีกีมากคับ