Question: Isn't the way the women pay different from man? Came across the ruling that speaks otherwise, please explain!
ปุจฉา :วิธีการละมาดของผู้หญิงและผู้ชายไม่แตกต่างกันเลยใช่ไหม ช่วยอธิบายหน่อย เพราะมีบางคนกล่าวในทำนองว่า
The way in which women pray is the same as the way in which men pray
วิธีการละหมาดไม่ว่าผู้ชายก็ดีผู้หญิงก็ดีมีรูปแบบเดียวกันไม่ต่างกันเลย
Would u please tell me the proper way for women to sit, when we pray, also can you please differentiate the sitting position, from men.
ช่วยอธิบายแลทีเถิดว่า วิธีที่ถูกต้องที่สุดของผู้หญิงในการละหมาดไม่ว่าจะเป็นการนั่ง
แถมพ่วงท้ายช่วยอธิบายแลทีเถิดถึงท่านั่งในระหมาดระหว่างบุรุษเพศกับสตรีเพศ
Praise be to Allaah.
การสรรเสริญเป็นของอัลลอฮฺเจ้า
The way in which women pray is the same as the way in which men pray in every part of the prayer, prostration, sitting, and so on. This is based on the following evidence:
วิธีการละหมาดของบุรุษเพศกับสตรีแลแล้วความต่างหามีไม่ ไม่ว่าจะเป็นท่านนั่ง ซูญุด และอื่นๆ ดังหลักฐานต่อไปนี้
1 – The Prophet (peace and blessings of Allaah be upon him) said: “Pray as you have seen me praying.” Narrated by al-Bukhaari. This is addressed to both men and woman.
๑) รอซูล(ขอความสันติจงประสบแด่นายแห่งมนุษยชาติ)กล่าวว่า “จงละหมาดดังที่เจ้าเห็นฉันละหมาด” บันทึก: บุคคอรี -เห็นไหมล่ะหะดิษนี้ไม่แยกว่าเพศใด
Shaykh al-Albaani (may Allaah have mercy on him) said:
ชัยค์อัลบานี (ขออัลลอฮฺเจ้าทรงประทานความเมตตาแก่เขาด้วยเถิด) กล่าวว่า
Everything that we have said above about the way in which the Prophet (peace and blessings of Allaah be upon him) prayed applies equally to men and women. There is nothing narrated in the Sunnah which implies that women are exempted from any of that. Rather the general meaning of the words of the Prophet (peace and blessings of Allaah be upon him), “Pray as you have seen me praying,” include women too.
Sifat Salaat al-Nabi, p. 189
“จากหะดิษดังกล่าวนั้นนั้นบ่งชี้ว่ารูปแบบการละหมาดของรอซูลใช้ได้กับทุกเพศ ไม่มีรายงานใดเลยถึงซันนะฮฺรอซูลที่บอกว่าวกเว้นสตรีเพศ อีกประการนึง ความหมายคำพูดของรอซูลที่ว่า “จงละหมาดดั่งที่สูเจ้าเห็นฉันละหมาด”นั้นรวมสตรีเพศด้วย”
หนังสือซีฟัตซฮละฮฺ อัลนาบี หน้า 189
2 – The general meaning of the words of the Prophet (peace and blessings of Allaah be upon him): “Women are the twin halves of men.” Narrated by Abu Dawood, 204; al-Tirmidhi, 105, from the hadeeth of ‘Aa’ishah. Also narrated by al-Daarimi, 764, from the hadeeth of Anas.
Al-‘Ajlooni said: Ibn Qattaan said: The isnaad from ‘Aa’ishah is da’eef (weak), but the isnaad from Anas is saheeh (sound).
Kashf al-Khafa’, 1/248
๒) ความหมายกว้างของคำพูดรอซูล”สตรีเพศคือครึ่งนึงจากบุรุษเพศ” บันทึก: อบูดาวุด,204,ตีมีซี.105 จากสายรายงานท่านหญิงอาอีชะฮฺ และในบันทึกของดารีมี 764 สายรายงานจากท่านอนัส
อัลอัจลูนี กล่าวว่า”อิบนฺ กอตตาน กล่าวว่า “สายจากท่านหญิงอาอิชะฮฺนั้นดออีฟ แต่สายจากท่านอนัสนั้นซอฮฺ””
กัชฟฺ อัลคอฟา 1/248
Al-Khattaabi said: What we understand from this is: If something is said in the masculine, it is addressed to women too, except in cases where there is evidence to indicate that it applies only to women.
อัล คอตตาบี กล่าวว่า”สิ่งที่เราเข้าใจนั้นคือว่า หากสอ่งใดสิ่งนึงที่พูดพาดพิงในเชงการใช้บ่งชี้ยังบุรุษเพศ นั่นแหละเป็นการบ่งชี้ถึงสตรีเพศเช่นกัน ยกเว้นในกรณีที่กลักฐานบ่งชี้ถึงสตรีเพศก็ใช้เฉพาะสตรีเพศเท่านั้น”
Some of the scholars said that a woman should not sit as a man sits (in prayer), and they quoted two da’eef (weak) hadeeths as evidence for that.
นักวิชาการบางท่านกล่าวว่า สตรีเพศนั้นไม่สมควรเลยที่จะนั่งเยี่ยงบุรุษเพศนั่งในละหมาด แต่นั้นก็เป็นหลักฐานที่อ่อน ดังหลักฐานต่อไปนี้
Al-Bayhaqi said:
Two da’eef hadeeth were narrated concerning that, the like of which cannot be taken as evidence.
ท่านบัยฮากีกล่าวว่า “หะดิษดออีฟทั้ง ๒ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวนั้นไม่สามารถที่จะนำมาเป็นหลักฐาน”
The first is the hadeeth of ‘Ata’ ibn al-‘Ajlaan from Abu Nadrah al-‘Abdi from Abu Sa’eed al-Khudri, the companion of the Messenger of Allaah (peace and blessings of Allaah be upon him) from the Messenger of Allaah (peace and blessings of Allaah be upon him), that he used to command the men to spread out their arms in their prostration and he used to tell the women to keep their arms close to their sides in their prostration. He used to tell the men to spread their left foot along the ground (and sit on it) and place the right foot upright during the tashahhud and he used to tell the women to sit, kneeling, on their heels.” Then al-Bayyhaqi said: This is a munkar hadeeth.
หะดิษที่ ๑ เป็นหะดิษของอะตา อิบนฺ อัลอัจลาน จาก ทานนาซะฮฺ อัล อับดี จาก ท่านอบูซะอิด อัลคุดรี(ซอฮาบะฮฺ)จากท่านรอซูล ว่า ท่านนบีเคยสั่งให้บุรุษเพศกางแขนออกเมื่อซุญุด และสั่งสตรีเพศประชิดแขนกับลำตัว(ไม่ต้องกางแขน)ในซุญุด และสั่งบุรุษเพศยื่นเท้าซ้ายให้ขนานกับพื้น(และนั่งบนมัน) และวางเท้าขวายันพื้นในขณะอ่านตะชะฮุดและสั่งสตรีเพศให้นั่งบนส้นเท้า
ท่านบัยฮากีกล่าวว่า นี้เป็นหะดิษมุงกัร
The other is the hadeeth of Abu Mutee’ al-Hakam ibn ‘Abd-Allaah al-Balkhi from ‘Umar ibn Dharr from Mujaahid from ‘Abd-Allaah ibn ‘Umar who said: The Messenger of Allaah (peace and blessings of Allaah be upon him) said: “When a woman sits during the prayer she should place one thigh against the other and when she prostrates she should press her stomach against her thighs, compressing herself in the most concealing manner, for Allaah looks at her and says: ‘O My angels, I call you to bear witness that I have forgiven her.’” Sunan al-Bayhaqi al-Kubra, 2/222.
หะดิษ ๒ จากอบู มูตี อัลหะกัม อิบนฺ อับดุลลอฮฺ อัลบัลคี จากอุมัร อิบนฺ ซัร จากมุญาฮิด จาก อับดุลลอฮฺ อิบนฺ อุมุร กล่าวว่าท่านรอซูลกล่าวว่า เมื่อสตรีเพศนั่งขณะละหมาด หล่อนควรวางขาอ่อนแนบชิดอีกข้างนึง เมื่อซุญุดหล่อนกดหน้าท้องให้แนบกับข่าอ่อนทั้ง ๒ ข้าง การแนบให้ชิดนั้นทำอย่างมิดชิด เพราะอัลลอฮฺเจ้าทอดประเนตรหล่อนอยู่และตรัสว่า “โอ้มลาอีกัต พวกเจ้าจงเป็นพยานด้วยเถิดว่าเราจะอภัยให้หล่อน”สุนัน อัลบัยฮากี อัลกุบรอ 2/222
This hadeeth is da’eef, because it was narrated by Abu Mutee’ al-Balkhi.
Ibn Hajar said:
Ibn Mu’een said: He is nothing. On one occasion he said: He is da’eef. Al-Bukhaari said: He is da’eef. Al-Nasaa’i said: He is da’eef. Lisaan al-Mizaan, 2/334.
หะดิษนี้ดออีฟเพราะมีท่าน อบู มุตี อัลบัลคี
ท่านอิบนฺหะญัรกล่าวว่า
“ท่านอินฺมุอีน กล่าวว่า เขาเป็นคนไร้ความหมาย ครั้งนึงท่านกล่าวว่า เขานั้นดออีฟ”
อัลบุคอรีกล่าวว่า”เขาเป็นคนดออีฟ”
อัลนาซาอีกล่าวว่า”เขาเป็นคนดออีฟ”
ลีสาน อัลมีสาน, 2/334
Ibn ‘Adiyy said: It is clear that Abu Mutee’ is da’eef in his ahaadeeth and everything that he narrated, and for most of his narrations there are no corroborating reports. Al-Kaamil fi Du’afa’ al-Rijaal, 2/214
อิบนฺ อาดี กล่าวว่า”เป็นที่ชัดแจ้งแล้วว่า อบู มุตี เป็นคนดออีฟมนการรายงานหะดิษและรายงานไม่ชัดเจน”
อัลกามิล ฟีดุอาฟา ,2/214
A third hadeeth was narrated from Yazeed ibn Abi Habeeb, saying that the Messenger of Allaah (peace and blessings of Allaah be upon him) passed by two women who were praying. He said: “When you prostrate, press some of your flesh to the ground, for women are not like men in that.”
หะดิษ ๓ รายงานจาก ยะซีด บิน อบีฮาบีบ กล่าวว่า รอซูลผ่านสตรีเพศ ๒ คนที่กำลังละหมาดอยู่ ท่านรอซูลกล่าวว่า “เมื่อเจ้าซุญุด จงกดเนื้อหนังของเจ้าให้สัมผัสกับพื้น แต่ขอลสตรีเพศต่างจาดบุรุษเพศในการกระทำดังกล่าว”
This was narrated by Abu Dawood in al-Maraaseel (p. 118) and by al-Bayhaqi (2/223).
บันทึกโดยอบูดาวุด ใน อัลมารอซีล หน้า 118 และโดยอัลบัยฮากี 2/223
This hadeeth is mursal, which is a category of da’eef (weak).
หะดิษนี้เป็นหะดิษมุรซัลที่ดออีฟ
In al-Musannaf (1/242), Ibn Abi Shaybah narrated some reports from some of the salaf which suggest that there is a difference in the way women and men sit (in prayer), but the only evidence that counts is the words of Allaah and His Messenger (peace and blessings of Allaah be upon him). Then he narrated from some of the salaf that the way in which men and women pray is the same.
ในอัลมุซันนัฟ 1/242 อิบนฺ อบี ชัยบะฮฺ รายงานจากสลัฟบางท่านว่าวิธีการนั่งในละหมาดระหว่างบุรุษเพศกับสตรีเพศนั้นมีความต่างกัน แต่หลักฐานที่เราจะพิจารณาคือจากอัลลอฮฺและรอซูล ดังนั้นเขาจึงรายงานจากสลัฟบางท่านว่าการละหมาดระหว่างบุรุษเพศกับสตรีเพศนั้นเหมือนกัน
Al-Bukhaari (may Allaah have mercy on him) said: Umm al-Darda’ used to sit in prayer as a man sits and she was a scholarly woman.
อัลบุคอรีกล่าวว่า “อัม อัลดัรดา เคยมีท่านั่งในละหมาดเยี่ยงบุรุษเพศและหล่อนยังเป็นสตรีเพศที่คงแก่เรียน”
Al-Haafiz stated in Fath al-Baari that Abu’l-Darda’ had two wives, both of whom were called Umm al-Darda’. The older one was a Sahaabiyyah and the younger one was a Taabi’iyyah. He suggested that the one who was referred to here by al-Bukhaari was the younger one.
อัล ฮาฟิซ กล่าวใน ฟัตฮุลบารี ว่า อบูดัรดา มีภริยา ๒ คน ทั้ง ๒ คนนั้นใช้นามว่า อุม อัลดัรดา คนที่อายุแก่กว่าชื่อ ซาฮาบียะฮฺ และคนสาวชื่อ ตาบียะฮฺ ท่านฮาฟิซกล่าวว่าผู้ที่อัลบุคอรีอ้างถึงคือคนสาว(ตาบียะฮฺ)
And Allaah knows best.
อัลลอฮฺเจ้าทรงหยั่งรู้
Answer: In the name of Allah, Most Gracious, Most Merciful
Assalaamu `alaykum waRahmatullahi Wabarakatuh
วิสัชนา:ด้วยพระนามแห่งอัลลอฮฺเจ้าผ็ทรงเมตตาและปราณี
อัสสาลามุอลัยกุมวารอมาตัลลอฮิวาบารอกาตุฮฺ
Your query consists of two questions, namely:
คำถามของคุณนั้นประกอบด้วย ๒ ประเด็นดังนี้
1. Is there a difference in the salat of men and women?
๑) การละหมาดของบุรุษเพศกับสตรีเพศต่างกันใช่ไหม?
2. Respond to the article that states “The way in which women pray is the same as the way in which men pray”
๒) วิภาษบทความที่บอกว่า “วิธีการละหมาดของบุรุษเพศก็ดี สตรีเพศก็ดี ไม่มีความต่างกันเลย”
Hereunder, we wish to present answers to the above questions.
ต่อไปนี้เป็นการนำเสนอเพื่อตอบคำถามดังกล่าว
Is there a difference in the salat of men and women?
การละหมาดของบุรุษเพศกับสตรีเพศต่างกันใช่ไหม?
In Shari’a, many laws that apply to women are different to those that apply to men. Amongst these laws are the laws of salat. The variation that exists between the salat of men and women were prescribed by none other than Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam). This remained the practice of the entire ummah till this day and is also reflected in the verdicts and practices of the Sahaba and Tabi’un. The Ulama and Fuqaha of all four mazhahib, namely Hanafi, Maaliki, Shafi’ee and Hambali, have maintained the difference that exists between the salat of men and women. In the recent past, there has being a group amongst the muslims who call themselves “Ahlul Hadith”, claim that the laws of salat are common to both men and women. Hence, they conclude that women should perform salat exactly as men do. They claim that the Hadith in which Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) states: “Perform salat as you see me perform salat” (Sahih Bukhari #631) is general and applies equally to both men and women. However, it should be realized that our own interpretation and logical inference of this Hadith cannot compare with the other Ahadith in which Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) clearly draws a difference between the salat of men and women, leaving aside the many verdicts and practices of Sahaba and those after them that are found in the collections of Hadith. The Muhadithun have dedicated separate chapters in their books outlining the salat of women such as Imam Ibn Abi Shayba, Imam Abdur Razaq and others.
หลักการชาริอะฮฺหลายประการด้วยกันที่แบ่งแยกระหว่างหลักการที่ใช้กับบุรุษเพศและสตรีเพศ และละหมาดก็เป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน ความแตกต่างในการละหมาดของบุรุษเพศกับสตรีเพศ ดั่งที่รอซูลได้อธิบายไว้ยังดำเนินจวบจนปัจจุบัน และรูปแบบของซอฮาบะฮฺ ตาบีอีน นักนิติศาสตร์อิสลามทั้ง ๔ มัซฮับ ไม่ว่าจะเป็น ฮานาฟี มาลีกี ฟาชีอี และ ฮัมบาลี ยังบอกถึงความแตกต่างระหว่างบุรุษเพศกับสตรีเพศในการละหมาด เมื่อไม่นานมานี้มีมุสลิมกลุ่มหนึ่งที่อ้างตนว่าชาวอะลุลฮาดิษ ได้อ้างว่าวิธีการละหมาดระหว่างบุรุษเพศกับสตรีพศนั้นไม่ต่างกันเลย ดังนั้นกลุ่มดังกล่าวสรุปว่าสตรีเพศต้องละหมาดอย่างบุรุษเพศ ดั่งที่รอซูลกล่าวว่า .”จงละหมาดดั่งที่สูเจ้าเห็นฉันละหมาด” (ซอฮิบุคคอรี 631) เมื่อหะดิษบอกอย่างกว้างๆเราก็ต้องปฏิบัติอย่างกว้างๆนั้นคือเมื่อไม่เจาะจงเพศ แสดงว่าทุกเพศทำเหมือนกัน พึงสังวรณ์ไว้เสมอการตีความของมนุษย์โดยใช้เหตุผลนั้นจะมาใหญ่กว่าหะดิษของรอซูลนั้นไม่ได้ แต่หะดิษนี้ไม่สามารถนำไปเปรียบเทียบกับหะดิษอื่นๆที่รอซูลได้บอกอย่างชัดเจนถึงความแตกต่างในการละหมาดของสตรีเพศกับบุรุษเพศ การทิ้งทรรศนะและการปฏิบัติของซอฮาบะฮฺและผู้ตามพวกเขานั้นมีปรากฏในหนังสือรวมหะดิษ นักหะดิษหลายท่านได้อุทิศตัวเพื่อแยกระหว่างรูปแบบการละหมาดของบุรุษเพศกับสตรีเพศ เช่นท่าน อิบนฺ อบีชัยบะฮฺ อิหม่ามอับดุร รอซากและท่านอื่นๆ
In brief, this article will highlight the differences that exist in the salat of men and women which are substantiated from the Ahadith and the verdicts and practices of the Sahaba and those after them. Also, answers will be given to the objections raised by the “Ahlul Hadith” sect on this issue. We have not intended to gather all the Ahadith and verdicts of the Ulama on this topic. However, be assured that the relevant Ahadith and verdicts of the Ulama pertaining to this issue are mentioned with there references.
ขอสรุปว่า บทความนี้เน้นถึงความแตกต่างในการละหมาดของบุรุษเพศกับสตรีเพศที่ปรากฏในหะดิษและการปฏิบัติหรือทรรศนะของซอฮาบะฮฺและผู้ที่เจริญรอยตามพวกเขา คำวิภาษถึงกลุ่มอลุลหะดิษในประเด็นนี้ เราคงไม่นำทรรศนะของนักวิชาการที่มีความเห็นในประเด็นนี้มาทั้งหมดหรอก แต่เราจะนำหะดิษและการอธิบายของผู้สันทัดกรณีมาอ้างในประเด็นดังกล่าวพร้อมแหล่งอ้างอิง
Shari’a has prescribed distinct laws for men and women in many issues pertaining to salat. Hereunder, are examples of a few:
หลักชาริอะฮฺกำหนดข้อแตกต่างในการละหมาดระหว่างบุรุษเพศกับสตรีเพศ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. Men can lead women in salat but women cannot do so.
لن يفلح قوم ولوا أمرهم امرأة
Abu Bakrah narrates that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “Never will those people succeed who have appointed a women over them” (Sahih Bukhari, vol 2, pg 1052, Qadeemi)
๑) บุรุษเพศสามารถนำละหมาดสตรีเพศได้ แต่สตรีเพศถูกห้าม
อบูบักรอฮฺ รายงานจากท่านรอซูลว่า “กลุ่มใด(ผู้ชาย-ผู้แปล)แต่งตั้งสตรีเพศเป็นผ็นำเหนือเขา กลุ่มนั้นจะไม่ประสบความสำเร็จ”
ولا تؤمن امرأة رجلا
Jaabir bin Abdillah (radiyallaahu anhu) reports that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “Know that a woman should not lead a man in salat” (Baihaqi Al-Kubra, vol 3, pg 90, Idaratut Talifaat Ashrafiyya)
ญาบีร บิน อับดิลลาฮฺรายงานจากท่านรอซูลกล่าวว่า “หาได้บังควรไม่ที่สตรีเพศจะนำละหมาดบุรุษเพศ” (บัยฮากี อัลกุบรอ เล่ม ๓ หน้า ๙๐, อิดารอตุล ตาลีฟาต อัชรอฟียา)
2. Men should say “Subhanallah” loudly for the purpose of correcting someone in salat, while women are only allowed to clap their hands.
التسبيح للرجال والتصفيق للنساء
Abu Huraira (radiyallaahu anhu) reports that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “Tasbeeh is for men and clapping is for women” (Sahih Bukhari, vol 1, pg 160, Al-Mizaan)
๒) บุรุษเพศควรกล่าวว่า “ซุบฮานัลลอฮฺ” ในการเตือนอิหม่ามให้ละหมาดให้ถูกต้อง แต่สตรีเพศนั้นส่งเสริมให้ปรบมือ (ซอฮิอัลบุคคอรี เล่ม ๑ หน้า ๑๖๐ อัลมิซาน)
3. Jummu’ah salat is fardh upon men but not on women.
الجمعة حق واجب على كل مسلم في جماعة إلا أربعة : عبد مملوك أو امرأة أو صبي أو مريض
Tariq bin Shihab (radiyallaahu anhu) reports that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “Jummu’ah in congregation is an obligatory duty upon every muslim except four: a slave, a woman, a child and one who is sick” (Mustadrak Al-Hakim-declared Sahih by Hakim and agreed by Dhahabi, vol 1, pg 425, #1062, Ilmiyya)
ละหมาดวันศุกร์เป็นวาญิบเหนือบุรุษเพศแต่สตรีเพศหาไม่
จากตอริก อิบนฺ ชัยบะฮฺ จากท่านรอซูลกล่าวว่า “การละหมาดวันศุกร์เป็นการละหมาดญามาอะฮฺที่บังคับเหนืออิสลามิกชนชาย เว้นแต่ ๔ ประการ ๑ ทาส ๒ สตรีเพศ ๓ เด็ก ๔ ผู้ป่วย” (มุสตัดรอก อัลฮากิม ซึ่งท่านฮากิมและท่านซาฮาบี ตัดสินว่าซออิ เล่ม ๑ หน้า ๔๒๕และ๑๐๖๒ อิลมียะฮฺ)
4. The reward of congregational salat for men is twenty seven times more than that of an individual salat. Contrary to this, the more rewarding salat of a woman is that which is most concealed and performed within the confines of her home and of her innermost living quarters.
๔) ละหมาดญามาอะฮฺเหนือบุรุษแพศนั้น ๒๗ เท่า แต่ดีเลิศสำหรับสตรีเพศในการละหมาดที่มิดชิดในขอบเขตของบ้านที่เป็นส่วนตัว
صلاة المرأة في مخدعها أفضل من صلاتها في بيتها و صلاتها في بيتها أفضل من صلاتها في حجرتها
Abdullah bin Mas’ood (radiyallaahu anhu) reports that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “The salat of a woman in her makhda’ (partition) is better than her salat in her hujrah (chamber); and her salat in her hujrah is better than her salat in her bait (house)” (Sahih Ibni Khuzaimah, vol 3, pg 95, Al-Maktab al-Islami)
อับดุลลอฮฺ บิน มัสอูด จากท่านรอซูล กล่าวว่า ดิเลศสำหรับสตรีเพศที่ควรละหมาดในที่ที่มีกำแพงหรือสิ่งขีดขว้าง ดีกว่าที่หล่อนละหมาดในสถานที่ห้องและในห้องดีกว่าในบ้าน(ยิ่งมิดชิดยิ่งดี-ผู้แปล)
ما صلت امرأة من صلاة أحب إلى الله من أشد مكان في بيتها ظلمة
Abdullah bin Mas’ood (radiyallaahu anhu) reports that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “The most beloved salat to Allah of a woman is the one that she performs in the darkest spot of her home” (Majma’ Al-Zawaaid- Hafidh Haythami has classified all the narrators as authentic, vol 2, pg 35, Maktaba Al-Qudsi)
อับดุลลอฮฺ บิน มัสอูด จากท่านรอซูล กล่าวว่า “ละหมาดที่อัลลอฮฺทรงรักยิ่งในหมู่สตรีเพศคือการละหมาดในที่ที่มิดชิดที่สุดของบ้าน” มัจมา อัลซาวาอิด ฮาฟิซ ฮัยตามี ตัดสินว่าสายรายงานนี้ถูกต้อง เล่ม ๒ หน้า ๓๕ มักตาบะฮฺอัลกุดซีย์
5. There is a big difference in the awrah of men and that of women in salat. Woman are required to cover their entire body including the hair and leaving only the face, hands and feet exposed, whereas this is not the requirement for the salat of men.
๕) เรื่องการปกปิดส่วนพึงสงวนเป็นข้อแตกต่างที่ชัดเจน กล่าวคือ สตรีเพศต้องปกปิดทั้งร่างกายยกเว้นใบหน้า มือ และเท้า แต่บุรุษเพศหาเหมือนไม่
لا تقبل صلاة حائض إلا بخمار
Aysha (radiyallaahu anha) reports that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “Allah does not accept the salat of a woman without a scarf” (Mustadrak Al-Hakim-declared Sahih upon the conditions of Muslim by Hakim and agreed by Dhahabi, vol 1, pg 380, #917, Ilmiyya)
ท่านหญิงอาอิชาฮฺ จากท่านรอซูลกล่าวว่า อัลลอฮฺไม่ตอบรับการละหมาดของสตรีเพศที่ไม่ปกปิดศีรษะ (มุสตัดรอก อัลฮากิม ซึ่งถูกต้องตามเงื่อนไขของท่านมุสลิม ท่านฮากิมและท่านศาฮาบีก็ว่าซอฮิ เล่ม ๑ หน้า ๓๘๐และ ๙๑๗ อิลมียา)
6. Women are not allowed to call out the Azaan whereas men are encouraged to do so.
ห้ามสตรีเพศอาซานตาบุรุษเพศหาถูกห้ามไม่
ليس على النساء أذان ولا إقامة
Ibn Umar (radiyallaahu anhu) reports that Rasulullah (sallallaahu alayhi wa sallam) said: “There is no Azaan and nor is there Iqamah upon women” (Baihaqi Al-Kubra, vol 1, pg 408, Idaratut Talifaat Ashrafiyya)
อิบนฺ อุมัร จาก ท่านรอซูล กล่าวว่า ไม่มีการอาซานและอิกอมะฮฺสำหรับสตรีเพศ (บัยฮากี อัลกุบรอ เล่ม ๑ หน้า ๔๐๘ อิดารอตุตตาลีฟาต อัชรอฟียา)