
ครับ
الأفعالُ ثلاثة: ماضٍ ، ومُضارعٌ، وأمر، نحو: ضَرَبَ ، ويَضرِبُ ، واضرِبْ.
กริยา นั้น มี 3 ส่วนด้วยกัน
1 กริยา(การกระทำالأفعالُ)บ่งบอกถึงอดีต เรียกว่า ماضٍ เช่น ضَرَبَ
2 กริยา(การกระทำالأفعالُ)บ่งบอกถึงปัจจุบันและอนาคต เรียกว่าمُضارعٌ เช่น يَضرِبُ
3 กริยา(การกระทำالأفعالُ)บ่งบอกถึงอนาคตและคำสั่ง เรียกว่า أمر เช่นاضرِبْ
فالماضي مفتوحُ الآخر أبدا
ดังนั้น กริยา(การกระทำالأفعالُ)บ่งบอกถึงอดีต เรียกว่า ماضٍ ท้ายของคำนั้นจะมีฟัตฮะห์หรือฟัตตะฮ์ตลอดไปเช่นضَرَ
بَوالأمر مجزومٌ أبدا
และ กริยา(การกระทำالأفعالُ)บ่งบอกถึงอนาคตและคำสั่ง เรียกว่า أمرท้ายของคำนั้นจะมี ซูกูนตลอดไปเช่นاضرِ
بْوالمضارع ما كان في أوله إحدى الزوائدِ الأربعِ التي يجمَعُهَا قولُك: أنَيتُ
และกริยา(การกระทำالأفعالُ)บ่งบอกถึงปัจจุบันและอนาคต เรียกว่า مضارعจะปรากฎอักษรเพิ่มขึ้นมา1ตัวด้านหน้ากริยาمضارع
นั้นก็คือ ا ن ي ت ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วก็จะกล่าวได้ว่า أنَيتُ
อาลีฟ ا -ฉัน(เอกพจน์ บุรุษที่1)
ยา ي -มัน (เอกพจน์บุรุษที่3ชาย)
นูน ن -เรา (พหูพจน์บุรุษที่1รวมผู้อื่นอยูด้วย)
ตา ت -เขา(เพศหญิง)หรือท่าน(เอกพจน์บุรุษที่2 หรือเอกพจน์บุรุษที่3หญิง)
وهو مرفوعٌ أبدا
مضارع นั้น จะ มีสระท้ายเป็น ดอมมะห์ตลอดไปยกเว้น
حتى يدخُلَ عليه ناصِبٌ أو جازِم، فالنَّواصبُ عَشَرَة، وهي: أَنْ، ولَنْ، وإذنْ، وكَيْ، ولام كي، ولام الجُحُود، وحتى ، والجوابُ بالفاء والواو وأو.
จนกระทั่งมี คำเหล่านี้ أَنْ، ولَنْ، وإذنْ، وكَيْ، ولام كي، ولام الجُحُود، وحتى ، والجوابُ بالفاء والواو وأوนำหน้า จะทำให้ مضارع นั้น สระท้ายเป็น ฟัตฮะห์ เช่น
لن اكذب (ลัน อักซิบ้า) ฉันจะไม่โกหก
หรือจนกระทั่งมีคำเหล่านี้ لَمْ، لَمَّا، ألَمْ، ألَمَّا،ولام الأمر والدعاء،ولا في النَّهيِ والدعاء، واِنْ ، وما، ومَنْ، ومهما، واِذْما، وأَيُّ، ومتى، وأَيَّانَ، وأينَ، وأَنَّى ، وحَيثُمَا، وكيفما، وإذا في الشِّعر خاصة นำหน้า จะทำให้ مضارع นั้น สระท้ายเป็น ซูกูน เช่น
لا تاءكل و انت شبعان ลาตะห์กุลว่าอันต้าซับอาน อย่ากินเมื่อรู้สึกอิ่ม
(รบกวน ท่านเว็ปมาสเตอร์ ใส่สระให้ด้วยนะครับ) วัสลาม