1
ชี้แจงแนวทางอะฮฺลิสสุนนะฮ์ฯ / ท่านอิมามอิบนุบัฏเฏาะฮฺอัล-อัคบารีย์ กับเตาฮีด ๓ ประเภท
« เมื่อ: ม.ค. 13, 2012, 02:36 PM »
อัสลามุอลัยกุม วาเราะห์มาตุลลอฮิวาบารอกาตุ อาจารย์อารีฟีน และผู้รู้ทุกท่าน
ผมมีเรื่องรบกวนสอบถาม เกี่ยวกับประเด็นจากบทความ ประเภทของเตาฮีด : นิยามและความเป็นมา ของ ชาฟุรดีน อามิลี อ้างถึงใน http://www.islamic-dialectic.blogspot.com/2011/01/blog-post_6393.html ดังนี้
๑. การอ้างว่า คำกล่าวของ ท่านอิมามอิบนุบัฏเฏาะฮฺอัล-อัคบารีย์กล่าวไว้ในหนังสือของท่านที่ชื่อว่า
الإبانة عن شريعة الفرقة الناجية ในเล่ม ที่ 2 หน้า 172-173 ความว่า
وذلك أن أصل الإيمان بالله الذي يجب على الخلق اعتقاده في إثبات الإيمان به ثلاثة أشياء: أحدها: أن يعتقد العبد ربانيته؛ ليكون بذلك مبايناً لمذهب أهل التعطيل الذين لا يثبتون صانعاً. والثاني: أن يعتقد وحدانيته؛ ليكون بذلك مبايناً لأهل الشرك الذين أقروا بالصانع وأشركوا معه في العبادة غيره. والثالث: أن يعتقده موصوفاً بالصفات التي لا يجوز إلا أن يكون موصوفاً بها من العلم والقدرة والحكمة وسائر ما وصف به نفسه في كتابه.
“และด้วยเหตุนี้นี่คือรากฐานของการศรัทธาในพระองค์อัลลอฮฺซึ่งเป็นสิ่งจำเป็น(วาญิบ)เหนือสรรพสิ่ง(ทั้งปวง)ในการยืนยันต่อการศรัทธาต่อพระองค์ด้วยกับสิ่งสามประการนี้
ประการแรก : คือการที่บรรดาบ่าวของพระองค์ศรัทธาใน “ร็อบบานียะฮฺ” ของพระองค์(หมายถึงศรัทธาในการเป็นพระเจ้าเหนือมัคลูกทั้งปวงของพระองค์) ดังนั้นด้วยกับสิ่งนี้พระองค์จึงบริสุทธิ์จากแนวทางของผู้ที่ปฏิเสธการมีอยู่ของพระองค์ซึ่งพวกเขาไม่ได้ทำการยืนยันต่อ(การเป็น)ผู้สร้าง(ของพระองค์)
ประการที่สอง : คือการที่เขา(มนุษย์)ศรัทธาในความเป็น “วะฮฺดานียะฮฺ” (ความเป็นเอกะ)ของพระองค์ ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงทรงบริสุทธิ์จากบรรดาผู้ที่ตั้งภาคีซึ่งทำการยืนยันต่อผู้สร้างแต่ทว่าได้ทำการตั้งภาคีด้วยการเคารพสักการะสิ่งอื่น
ประการที่สาม : คือการที่มนุษย์ศรัทธาต่อสิ่งที่ได้ถูกกล่าวถึงพระองค์ด้วยคุณลักษณะ(ศิฟาต)ซึ่งไม่เป็นที่อนุมัติ(ที่จะพาดพิงพระองค์ถึงด้วยศิฟาตหนึ่งใด)เว้นแต่คุณลักษณะที่ได้ถูกแจกแจงไว้ ดังเช่น อิลมฺ(ความรู้), กุดเราะฮฺ(อำนาจ),ฮิกมะฮฺ(วิทยญาณ) และทั้งปวงจากสิ่งที่พระองค์ได้ทรงกล่าวถึงพระองค์เองในคัมภีร์อัลกุรอาน”
...ชาฟุรดีน อามิลี ได้กล่าวว่า "จากหลักฐานข้างต้นเราจะพบว่าการแบ่งเตาฮีดออกเป็น 3 ประเภทตามที่ได้ถูกร่ำเรียนกันอยู่ในปัจจุบันนั้นมิใช่เป็นนวัตกรรมใหม่ทางศาสนาซึ่งถูกอุติรขึ้นโดยกลุ่มคนนอกรีตนอกรอยในเรื่องเตาฮีด(เอกวิทยา)ตามที่ได้มีบางกลุ่มบางพวกได้อ้างไว้แต่อย่างใด และแน่นอนว่าการแบ่งประเภทเตาฮีดออกเป็น 3 ประเภทดังข้างต้นนั้นจะสมบูรณ์พอที่แจกแจงถึงความยิ่งใหญ่ของพระองค์ได้มากน้อยเพียงใดนั้นพระองค์อัลลอฮฺเท่านั้นที่ทรงรู้ดียิ่ง"
และชาฟุรดีน อามิลี ได้กล่าวว่า โดยสรุปแล้วการแบ่งประเภทเตาอีดของท่านอิบนุบัฏเฏาะฮฺปราชญ์และอิมามแห่งอะฮฺลุซซุนนะฮฺฯแห่งศตวรรษที่ 4 ของอิสลามนั้นคือการแบ่งเตาฮีดที่ได้ถูกเล่าเรียนกันในวิชาเตาฮีดในยุคสมัยของเราซึ่งประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1) ร็อบบานียะฮฺ อันหมายถึงการศรัทาต่อการเป็นพระผู้อภิบาลของพระองค์อัลลอฮฺซึ่งเป็นแก่นเนื้อหาเดียวกันกับ เตาฮีดรุบูบียะฮฺ 2) เตาฮีดวะฮฺดานียะฮฺ อันหมายถึงการไม่กระทำการตั้งภาคีต่อพระองค์ภาคส่วนนี้ผูกพันธ์อยู่กับพฤติกรรมของมนุษย์อันเป็นเนื้อหาเดียวกันกับเตาฮีดอัลอิบาดะฮฺหรืออุลูฮียะฮฺ 3) คือการศรัทธาต่อคุณลักษณะของพระองค์ที่ได้ถูกระบุไว้ในอัลกุรอานอันไพโรจน์ของพระองค์อันเป็นเนื้อหาเดียวกันกับเตาฮีดอัล-อัสมาอ์วัศศิฟาต
กระผมอยากเรียนถามว่า การอ้างอิงโดยพาดพิงหลักฐานดังกล่าวกับการแบ่งเตาฮีด ๓ ประเภท ของกลุ่มวาฮาบีปัจจุบัน ถูกต้องใหมวัลลอฮูอะลัม
ผมมีเรื่องรบกวนสอบถาม เกี่ยวกับประเด็นจากบทความ ประเภทของเตาฮีด : นิยามและความเป็นมา ของ ชาฟุรดีน อามิลี อ้างถึงใน http://www.islamic-dialectic.blogspot.com/2011/01/blog-post_6393.html ดังนี้
๑. การอ้างว่า คำกล่าวของ ท่านอิมามอิบนุบัฏเฏาะฮฺอัล-อัคบารีย์กล่าวไว้ในหนังสือของท่านที่ชื่อว่า
الإبانة عن شريعة الفرقة الناجية ในเล่ม ที่ 2 หน้า 172-173 ความว่า
وذلك أن أصل الإيمان بالله الذي يجب على الخلق اعتقاده في إثبات الإيمان به ثلاثة أشياء: أحدها: أن يعتقد العبد ربانيته؛ ليكون بذلك مبايناً لمذهب أهل التعطيل الذين لا يثبتون صانعاً. والثاني: أن يعتقد وحدانيته؛ ليكون بذلك مبايناً لأهل الشرك الذين أقروا بالصانع وأشركوا معه في العبادة غيره. والثالث: أن يعتقده موصوفاً بالصفات التي لا يجوز إلا أن يكون موصوفاً بها من العلم والقدرة والحكمة وسائر ما وصف به نفسه في كتابه.
“และด้วยเหตุนี้นี่คือรากฐานของการศรัทธาในพระองค์อัลลอฮฺซึ่งเป็นสิ่งจำเป็น(วาญิบ)เหนือสรรพสิ่ง(ทั้งปวง)ในการยืนยันต่อการศรัทธาต่อพระองค์ด้วยกับสิ่งสามประการนี้
ประการแรก : คือการที่บรรดาบ่าวของพระองค์ศรัทธาใน “ร็อบบานียะฮฺ” ของพระองค์(หมายถึงศรัทธาในการเป็นพระเจ้าเหนือมัคลูกทั้งปวงของพระองค์) ดังนั้นด้วยกับสิ่งนี้พระองค์จึงบริสุทธิ์จากแนวทางของผู้ที่ปฏิเสธการมีอยู่ของพระองค์ซึ่งพวกเขาไม่ได้ทำการยืนยันต่อ(การเป็น)ผู้สร้าง(ของพระองค์)
ประการที่สอง : คือการที่เขา(มนุษย์)ศรัทธาในความเป็น “วะฮฺดานียะฮฺ” (ความเป็นเอกะ)ของพระองค์ ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงทรงบริสุทธิ์จากบรรดาผู้ที่ตั้งภาคีซึ่งทำการยืนยันต่อผู้สร้างแต่ทว่าได้ทำการตั้งภาคีด้วยการเคารพสักการะสิ่งอื่น
ประการที่สาม : คือการที่มนุษย์ศรัทธาต่อสิ่งที่ได้ถูกกล่าวถึงพระองค์ด้วยคุณลักษณะ(ศิฟาต)ซึ่งไม่เป็นที่อนุมัติ(ที่จะพาดพิงพระองค์ถึงด้วยศิฟาตหนึ่งใด)เว้นแต่คุณลักษณะที่ได้ถูกแจกแจงไว้ ดังเช่น อิลมฺ(ความรู้), กุดเราะฮฺ(อำนาจ),ฮิกมะฮฺ(วิทยญาณ) และทั้งปวงจากสิ่งที่พระองค์ได้ทรงกล่าวถึงพระองค์เองในคัมภีร์อัลกุรอาน”
...ชาฟุรดีน อามิลี ได้กล่าวว่า "จากหลักฐานข้างต้นเราจะพบว่าการแบ่งเตาฮีดออกเป็น 3 ประเภทตามที่ได้ถูกร่ำเรียนกันอยู่ในปัจจุบันนั้นมิใช่เป็นนวัตกรรมใหม่ทางศาสนาซึ่งถูกอุติรขึ้นโดยกลุ่มคนนอกรีตนอกรอยในเรื่องเตาฮีด(เอกวิทยา)ตามที่ได้มีบางกลุ่มบางพวกได้อ้างไว้แต่อย่างใด และแน่นอนว่าการแบ่งประเภทเตาฮีดออกเป็น 3 ประเภทดังข้างต้นนั้นจะสมบูรณ์พอที่แจกแจงถึงความยิ่งใหญ่ของพระองค์ได้มากน้อยเพียงใดนั้นพระองค์อัลลอฮฺเท่านั้นที่ทรงรู้ดียิ่ง"
และชาฟุรดีน อามิลี ได้กล่าวว่า โดยสรุปแล้วการแบ่งประเภทเตาอีดของท่านอิบนุบัฏเฏาะฮฺปราชญ์และอิมามแห่งอะฮฺลุซซุนนะฮฺฯแห่งศตวรรษที่ 4 ของอิสลามนั้นคือการแบ่งเตาฮีดที่ได้ถูกเล่าเรียนกันในวิชาเตาฮีดในยุคสมัยของเราซึ่งประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1) ร็อบบานียะฮฺ อันหมายถึงการศรัทาต่อการเป็นพระผู้อภิบาลของพระองค์อัลลอฮฺซึ่งเป็นแก่นเนื้อหาเดียวกันกับ เตาฮีดรุบูบียะฮฺ 2) เตาฮีดวะฮฺดานียะฮฺ อันหมายถึงการไม่กระทำการตั้งภาคีต่อพระองค์ภาคส่วนนี้ผูกพันธ์อยู่กับพฤติกรรมของมนุษย์อันเป็นเนื้อหาเดียวกันกับเตาฮีดอัลอิบาดะฮฺหรืออุลูฮียะฮฺ 3) คือการศรัทธาต่อคุณลักษณะของพระองค์ที่ได้ถูกระบุไว้ในอัลกุรอานอันไพโรจน์ของพระองค์อันเป็นเนื้อหาเดียวกันกับเตาฮีดอัล-อัสมาอ์วัศศิฟาต
กระผมอยากเรียนถามว่า การอ้างอิงโดยพาดพิงหลักฐานดังกล่าวกับการแบ่งเตาฮีด ๓ ประเภท ของกลุ่มวาฮาบีปัจจุบัน ถูกต้องใหมวัลลอฮูอะลัม