แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - islam traveling

หน้า: [1] 2
1
โดยเท่าที่สังเกตเเละประสบการณ์
tali leher มาเลย์ คือ เนคไทด์ นั้นเเหละครับ 
tali leher มาลายูไทย คือ สร้อยคอ
leher มาเลย์ บางสายรายงานบอกว่า คอด้านหน้า บางสายรายงานบอกทั้งหมดที่เป็นส่วน คอ
leher มาลายูไทย คอทั้งหมด บางสายรายงานบอกว่าเป็นคอส่วนภายนอก
tengkok มาเลย์ มี่ทั้งคอด้านหลัง ส่วนที่เป็นกระดูกต้นคอด้านหลัง
tengkok มาลายูไทย คอทั้งหมด ทั้งด้านหน้าที่มีกระเดือก เเละด้านหลังที่มีกระดูก เเละบางสายบอกว่า รวมถึงคอด้านในด้วย เพราะเจ๊บคอ เรียกว่า sakit tengkok ไม่ได้พูดว่า sekit leher
tali tengkok มาเลย์บางส่วนเรียนเนคไทด์ บางส่วนใช้เรียกสร้อยคอ
 เพิ่่มเติมส่วนใหนฝากผู้รู้ด้วย

3
ขาดตกบกพร่องตรงส่วนใหน ฝากผู้รู้ เสริมให้ด้วยครับ ขอบคุณล่วงหน้า

4
ต้องพิจจารณาทีละประเด็น (เเบบรวม)
1. น้ำน้อย หมายถึง น้ำที่มีปริมาตไม่ถึง 2 กุลละฮ์
2.ถ้ามีนายิส ตกลงไปในน้ำที่น้อย น้ำนั้นกลายเป็นน้ำนายิสทันที (ไม่เเตกต่างกันระหว่างนายิสตกลงไปหรือเอาน้ำเทลงบนนายิส)
 หมายเหต..เเต่ถ้าใช้น้ำน้อยราดนายิส น้ำที่เราราดบนนายิสเท่านั้นที่เป็นน้ำนายิส ส่วนที่เหลือก็ยังเป็นน้ำน้อย ไม่ใช่น้ำนายิส)
2.1เเละได้ถูกยกเว้นว่า ถ้าซากของสัตว์ที่ไม่มีเลือด เช่นยุง เเมลงวัน ตกลงไปในน้ำ ถึอว่าไม่เป็นรัย เเต่มีข้อเเม้ว่าต้องไม่ทำให้น้ำน้อยนั้นเปลี่ยนสี กลิ่น หรือ รส
 ................จากคำถาม น้ำไม่ถึงสองกุลละห์ เเล้วเราใช้อาบน้ำ   และน้ำที่อาบกระเดนตกลงในอ่างนั้น ต้องดูว่าน้ำที่กระเด็นลงไปนั้น กระเด็นตอนที่น้ำยังเป็นเป็นน้ำน้อยหรือน้ำมากเเล้ว ..ถ้ากระเด็นน้ำน้อย น้ำนั้นเอามาใช้ล้างนายิสหรืออาบน้ำยูนุบไม่ได้ในขณะนั้น(ขณะน้ำยังน้อย) เเต่ถ้าน้ำน้อยที่มีน้ำกระเด็นเข้าไปในน้ำที่ถึง2กุลละฮ์หรือมากกว่า ไม่เป็นไร ใช้อาบยูนุบได้ เเต่ข้อเเม้ว่าน้ำเยอะดังกล่าวต้องไม่เปลี่ยนสีกลิ่นเเละรส ...
   หมายเหตุ น้ำน้อยที่ไม่ถึง2 กุลละฮ์ เเล้วเราเติมน้ำเข้าไปจนถึง 2กุลละฮ์ ถือว่าน้ำนั้นเป้นน้ำมุตลัก เหมือนกัน ...

5
ขอเเบ่งปันหน่อยสิครับ ไฟล์เสียงใครบ้างนำเสนอหน่อย

6
บาบออิสมาเเอ สปันยัง. บาบอการีม นาคนาวา ปอเนาะดาลอ.บาบอเลาะห์ ปอเนาะเเนบาเเด ... (สงขลา จะนะ) บาบอหวัง บาบอฮะ บาบอซอล บาบอตาด บาบอเลาะห์ บาบอหมัด บาบอเยาะห์เเซ  บาบอเดช..... (สงขลา หาดใหญ่)บาบอชาฟีอี (ปอเนาะรัตภูมิ) บาบอรอโอ๊บ(ปอเนาะโคกเมา) บาบอหลี(ปอเนาะรัตภูมิ เฉพาะผู้หญิง) .....(สงขลา สะเดา) บาบาซักการียา (ปอเนาะบ้านลุ่ม)บาบอยะโก๊บ (ปอเนาะท่าโพธ์) บาบอซอละห์(ปอเนาะบ้านปริก) ....เท่าที่นึกออกเเค่นี้ก่อน

7
อัสลามุอ้าลัยกุม

อาจารย์ซักรียา  กาเหย็ม
เป็นทั้งครูและพ่อคนที่สอง
(แล้วจะหาเวลาไปเยี่ยมบาบาที่ปอเนาะนะ  อย่าพิ่งน้อยใจ ระลึกถึงบาบาเสมอ)  :)

วัสลาม

อยากทราบประวัติของท่าน อาจารย์ซักรีย กาเหย็ม  แบบพอสังเขป ครับ

บาบอซักรียา  กาเหย็ม อดีตท่านเคยศึกษาที่ปอเนาะดาลอ ประมาณกว่า 13 ปี ก่อนจะเดินทางเพื่อศึกษาต่อที่มักกะฮ์ สมัยนั้นเรียนกันในมัสยิดฮารอม เเละตามสถานที่ ที่มีการเรียนการสอน ของเชคๆต่างๆในสมัยนั้น อทิเช่น เชคมูฮัมหมัดอาลาวี อัลมักกี อัลมาลีกี เเละเชคๆจากประเทศอินโดนีเซียอทิเช่น เชคยาซีน อัลฟัดดานี เเละประเทศไทย อทิเช่น โต๊ะครูอาลี ไชยา ..อีกประมาณกว่า 7 ปี ก่อนที่ถูกเรียกตัวกลับมา เพื่อเปิดทำการเรียนการสอน (ปอเนาะ) ณ.ปอเนาะบ้านลุ่ม สะเดา สงขลา เเละจากวันนั้นที่ท่านกลับมาจนถึงวันนี้ ก็ยังทำการสอนอยู่ ถึงเเม้สถานศึกษาถูกปรับปรุงเป็น รร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม เเต่ระบบการเรียนกีตาบท่านก็ยังคงไว้จวบจนปัจจุบัน... ปัจจุบัน ท่านอายุ68 ปี .. รอฮีมัลลอฮ์ อาลัยฮ์ 

8
เเละโดยส่วนใหญ่เเล้ว บรรดาผู้ทรงคุณวุฒิเหล่านั้นส่วนใหญ่จบการศึกษาจากปอเนาะ มัสยิดฮารอม(มักกะฮ์) อินโดนีเซีย อัซฮัร ซีเรีย ปากี เเละบางท่านจบเเค่ปอเนาะอย่างเดียว เเต่บรรดาผู้ทรงคุณวุฒิเหล่านั้น เต็มเปี่ยมด้วยความบารอกัตจริงๆ คือ ในคนเเค่คนเดียว เเต่เต็มเปี่ยมไปด้วยทุกวิชา ซึ่งเเตกต่างกับคุณรุ่นๆพวกเราเป็นอย่างมาก รอฮีมาฮุลลอฮ์ อาลัยฮิม .. ขอพระองค์ทรงเมตตาพวกเขาเเละทรงประทานความรู้เเก่พวกเราด้วยเถิด อามีน

9
ถ้ารวบรวมอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศไทยทั้งหมดเเล้ว ผมว่าเยอะมากเลยนะครับ ดีไม่ดี มากกว่ามาเลย์เซีย ด้วยซ้ำ

10
ที่บอก "หญิงซาอุฯเจอโทษโบย10ครั้งฐานขับรถ" .... นั่นมันเป็นกฎของประเทศซาอุเค้า เพราะซาอุเค้าห้ามผู้หญิงขับรถ ถ้าเอาจริงๆ ซุนนะฮ์ให้ผู้ชายขับรถก็ไม่มีเหมือนกัน ไม่มีตัวบทใหนๆเลยที่บ่งบอกถึงเรื่องซุนนะฮ์ของ ผช ในการขับรถ (เพราะรถมันเป็นเเค่พาหนะหนึ่งที่เป็นสิ่งอำนวยความสะดวกเเค่นั้นเอง).... ผู้หญิงกับการขับรถ เมื่อ กียาสกับอูฐ มีเหมือนกันที่ท่านหญิงอาอีชะฮ์เองเคยขี่อูฐ...
ผมเเนะนำว่า เรื่องเเบบนี้อย่ามาสร้างให้มันเป็นประเด็นเลยน่าจะดีกว่า มุสลีมะฮที่ไม่คลุมฮีญาบ มุสลีมะฮ์ที่ทำซีนาเเละทำอะไรต่อมิอะไรน่ะ น่าจะเก็บมาเป็นประเด็นมากกว่า ...

11
อยู่ที่การเรียกหรอกหรือ
อยู่ที่การเรียกหรอกหรือ
การเรียกก็เป็นที่ถูกพิจารณาเหมือน เพราะน้ำเปล่า เติมน้ำตาลลงไป ยังเรียกว่าน้ำหวานเลย

12
พูดถึงเรื่องบาป บุญคุณโทษ ย่อมเป็นเรื่องปกติ ที่มนุษย์ทุกคนต้องผ่านมัน เพราะไม่ได้มะซูมเหมือนท่านนบี ..ที่ไม่เคยสัมผัสกับสิ่งที่ไม่ดีเลย ศาสนาเปิดกว้างเรืองการเตาบัต เเต่กระนั้นสุดเเล้วเเต่พระองค์จะรับการเตาบัตของเราหรือป่าว ผมเเนะนำให้คุณไปหาธนาคารอิสลามเเล้วคุณจะได้คำตอบที่ดีสุด เพราะเค้าจะเเนะนำคุณได้ถึงเรื่องดอกเบี้ย เเละกำไรให้คุณอย่างชัดเจน เเต่ก่อนไปคุณต้องได้รับคำตอบจากผู้มีความรู้ที่คิดถูกต้องที่สุดเสียก่อน เพราะถ้าหากการค้ากำไรของธนาคารอิสลามผิด คุณก็ต้องผิด เเต่เเน่นอนโทษนั้นจะตกอยุ่ผู้รับผิดชอบคือธนาคารอิสลาม .... 

13


 เมื่อวานซือผมยังได้ยศนี้มาใส่ซัรบันใส่โต๊บไปเดินเปิดท้าย พ่อค้าเรียก "เมาลานา มาๆ มาดูเสื้อผ้าก่อน เชิญๆ" ^^     



^^!
นั่นเเค่ซื้อเสื้อโต๊บ บางคนซื้อเป็ดซื้อไก่ เรียกเมาลานาเหมือนกัน บางทีเเถมซัยยิด หรือ มูอัลลิม อีกต่างหาก 55

14
คำว่า "เมาลานา" มีหลายความหมาย ส่วนหนึ่งก็เช่น "ผู้นำของเรา", "นายของเรา", "ผู้อันเป็นที่รักยิ่งของเรา" หรือผู้ให้การช่วยเหลือ เป็นต้น  بَلِ اللّهُ مَوْلاَكُمْ وَهُوَ خَيْرُ النَّاصِرِينَ ( (آل عمران150)
เดิมทีเเล้วคำนี้ในบางประเทศของโลกมุสลิม ใช้นำหน้าชื่อเพื่อเป็นการให้เกียติเเก่ผู้ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรู้ เช่น เมาลานา+ชื่อ เเต่บางประเทศในอาหรับใช้เรียกนำหน้าชื่อเพื่อเรียกชื่อคนที่คีตอบกับเรา(คนที่เราจะคุยด้วย) เพื่อในเชิงหนึ่งเป็นการให้เกียติเเละอีกเชิงหนึ่งเป็นการเเทนคำ นาย (คำนำหน้าชื่อ) ตามบ้านเรานั้นเอง
ดังนั้นสรุปคือ ความหมายนั่นขึ้นอยู่กับเราว่า จะให้คีตอบไปหาครัย มากกว่า เเต่ถ้าให้เหมาะสมต้องคีตอบกับผู้ที่ให้การช่วยเหลือ ผู้มีความรู้ ผู้ที่เป็นนายเรา ผู้นำของเรา จะเป็นการดีที่สุด وَجَاهِدُوا فِي اللَّهِ حَقَّ جِهَادِهِ هُوَ اجْتَبَاكُمْ وَمَا جَعَلَ عَلَيْكُمْ فِي الدِّينِ مِنْ حَرَجٍ مِّلَّةَ أَبِيكُمْ إِبْرَاهِيمَ هُوَ سَمَّاكُمُ الْمُسْلِمينَ مِن قَبْلُ وَفِي هَذَا لِيَكُونَ الرَّسُولُ شَهِيداً عَلَيْكُمْ وَتَكُونُوا شُهَدَاء عَلَى النَّاسِ فَأَقِيمُوا الصَّلَاةَ وَآتُوا الزَّكَاةَ وَاعْتَصِمُوا بِاللَّهِ هُوَ مَوْلَاكُمْ فَنِعْمَ الْمَوْلَى وَنِعْمَ النَّصِيرُ ((الحج 78) ، (هو مولاكم ) أي حافظكم وناصركم ومظفركم على أعدائكم . (فنعم المولى ونعم النصير ) : يعني نعم الولي ونعم الناصر من الأعداء . تفسير ابن كثير ص ( 902 )
بَلِ اللّهُ مَوْلاَكُمْ وَهُوَ خَيْرُ النَّاصِرِينَ ( (آل عمران150)
عَنْ ‏ ‏الْبَرَاءِ ‏ ـ رَضِيَ اللَّهُ عَنْهُ ‏ـ ‏قَالَ : لَقِينَا الْمُشْرِكِينَ يَوْمَئِذٍ وَأَجْلَسَ النَّبِيُّ ‏ ‏ـ صَلَّىاللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ‏ـ ‏جَيْشًا مِنْ الرُّمَاةِ وَأَمَّرَ عَلَيْهِمْ ‏‏عَبْدَ اللَّهِ ،‏ ‏وَقَالَ : ‏ ‏لَا ‏ ‏تَبْرَحُوا ‏ ‏إِنْ رَأَيْتُمُونَا ظَهَرْنَاعَلَيْهِمْ فَلَا ‏ ‏تَبْرَحُوا ‏، ‏وَإِنْ رَأَيْتُمُوهُمْ ظَهَرُوا عَلَيْنَافَلَا تُعِينُونَا. فَلَمَّا ‏ ‏لَقِينَا ‏ ‏هَرَبُوا حَتَّى رَأَيْتُ النِّسَاءَيَشْتَدِدْنَ فِي الْجَبَلِ رَفَعْنَ عَنْ سُوقِهِنَّ قَدْ بَدَتْ خَلَاخِلُهُنَّ ،فَأَخَذُوا يَقُولُونَ : الْغَنِيمَةَ الْغَنِيمَةَ ، فَقَالَ ‏ ‏عَبْدُ اللَّهِ :‏‏عَهِدَ إِلَيَّ النَّبِيُّ ‏ـ ‏صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ـ‏ ‏أَنْ لَا ‏‏تَبْرَحُوا ‏، ‏فَأَبَوْا فَلَمَّا أَبَوْا صُرِفَ وُجُوهُهُمْ فَأُصِيبَ سَبْعُونَقَتِيلًا وَأَشْرَفَ ‏ ‏أَبُو سُفْيَانَ ‏ ‏فَقَالَ : أَفِي الْقَوْمِ ‏ ‏مُحَمَّدٌ ؟‏‏فَقَالَ : " لَا تُجِيبُوهُ " . فَقَالَ : أَفِي الْقَوْمِ ‏ ‏ابْنُ أَبِي قُحَافَةَ ؟‏‏قَالَ : "لَا تُجِيبُوهُ " . فَقَالَ : أَفِي الْقَوْمِ ‏ ‏ابْنُ الْخَطَّابِ ؟‏ ‏فَقَالَ:إِنَّ هَؤُلَاءِ قُتِلُوا فَلَوْ كَانُوا أَحْيَاءً لَأَجَابُوا ، فَلَمْ يَمْلِكْ ‏‏عُمَرُ ‏ ‏نَفْسَهُ فَقَالَ: كَذَبْتَ يَا عَدُوَّ اللَّهِ أَبْقَى اللَّهُعَلَيْكَ مَا يُخْزِيكَ . قَالَ ‏ ‏أَبُو سُفْيَانَ ‏: ‏اعْلُ‏هُبَلُ.‏ ‏فَقَالَ النَّبِيُّ ‏ ـ ‏صَلَّى اللَّهُعَلَيْهِ وَسَلَّمَ ـ ‏: " ‏أَجِيبُوهُ " ، قَالُوا : مَا نَقُولُ ؟ قَالَ : " قُولُوا اللَّهُأَعْلَىوَأَجَلُّ " قَالَ ‏ ‏أَبُو سُفْيَانَ : ‏ ‏لَنَا الْعُزَّىوَلَا عُزَّى لَكُمْ ، فَقَالَ النَّبِيُّ ‏ـ ‏صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ‏ـ : "‏أَجِيبُوهُ " ، قَالُوا : مَا نَقُولُ ؟ قَالَ : " قُولُوا اللَّهُ مَوْلَانَا وَلَا مَوْلَىلَكُمْ " . الحديث
 โดยทั่วของชาวอาหรับอาหรับ ความต้องการในด้านภาษาอาหรับ คือคำที่เค้าใช้พูดทั่วไป เเต่สำหรับเราเเล้วใช้ค้นหาในเชิงความหมายมากกว่า
วัสลาม

15
ขอออกความคิดเห็นอีกคนนะครับ เเต่ไม่รุ้ครัยคิดเหมือนผมบ้าง
ผมว่าเราละหมาดเเบบธรรมดาตามเวลาของมันจะดีกว่านะครับ ถ้าหากว่าฝนไม่ได้ตกถึงขั้นจนน้ำท่วมหรือจนทำให้เส้นทางไปมัสยิดขาด หรือถึงขั้นเป็นอันตรายต่อชีวิต ...หรือถึงเเม้ศาสนาจะอนุญาติเเต่ถ้าเรายังไม่สุดความสามารถของเรา ผมว่าเราทำเเเบบธรรมดาในเวลาของมัน น่าจะดีที่สุด
คนเราก็ เป็นเเบบนี้เเหละ พอศาสนาให้โอกาสความง่ายในหลายๆเรื่องเเก่เราๆ เราก็อยากเอาให้มันง่ายเข้ามาอีก พูดง่ายๆคือ เมื่อง่ายเเล้วก็อยากให้มันง่ายอีก เเล้วนี้ถ้าหากเราต้องละหมาดวันละ 50 เวลาล่ะจะทำยังงัย จะรวมหรือจะย่อหรือจะไม่รวม นึกไม่ออกเหมือนกัน (ณ ปัจจุบัน มันคงไม่ยากลำบากเกินความสามารถทีจะต้องออกมาละหมาดในเวลาของมัน ) ถ้าเกิดกางร่มมาละหมาดเเล้วยังเปียก ก็ขับรถยนต์คันหรูที่จอดอยู่ข้างบ้านมาเลยละกัน มัสยิดก็มีหลังคา (จะเปรียบเทียบกับบรรดามัสยิดของซอฮาบะฮ์ คงยากเพราะสมัยนั้นคลุมหลังคาด้วยใบของอินทผาลัมเอง)  อย่าคิดว่าฝนเป็นอุปสรรค์ในการที่จะออกมาละหมาดนะครับ(ผมว่านะครับ) ประเด็นเเบบนี้มันคล้ายกันเเหละกับการเลี่ยงซากาต พอใกล้ๆครบนิซอบ หรือ ครบรอบปี ก็เตรียมหาทางหนีทีไล่กันเเล้วล่ะ ... ทุกอย่างเป็นเพราะมนุษย์เรา ต้องการที่จะได้ที่มากกว่า มากกว่า การให้ที่มากกว่า..งัยครับ
อัลลอฮ์ ทรงขอจากบ่าวของพระองค์เเค่เรื่องเดียวเท่านั้น นั่นคือการทำอีบาดะฮ์ ให้สุดความสามารถของบ่าว เเต่ขณะเดียวกัน พระองค์ทรงตอบเเทนบ่าวด้วยความสามารถของพระองค์เช่นกัน ..อันใหนจะมีค่ามากกว่ากัน   

หน้า: [1] 2