แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - dolmabahce

หน้า: [1]
1
 salam

พี่น้องมุสลิมทุกท่าน ทุกมัสฮับ และเว็ปมาสเตอร์

ผมได้ยินมาจากคุณอัลฟาตอนีว่ามีการถกเถียงรุนแรงมากเกี่ยวกับเรื่อง 3 จังหวัด

ที่
http://www.sunnahstudents.com/forum/index.php?topic=5979.0

อยากเรียนเวปมาสเตอช่วยปิดกระทู้ไม่สร้างสรรค์นี้ดีกว่าครับเพราะดูแต่ละคนคุยกันใช่ความรู้สึกกันมาก

ไม่มีใครผิด ใครถูก แต่ละคนนำเสนอความเห้นที่ตามตนรู้มา

ปัญหาสามจังหวัดนับวันรังแต่จะเป็นสงครามกลางเมืองแล้ว

มุสลิมถูกฆ่าทั้งตากใบ มัสยิดไอปาแย ถูกอุ้มมากมาย ก่อเกิดความต้องการตอบโต้ปลดแอก

ถ้าจะญิฮาด ก็เอาให้ถูกต้องเลยครับ  แต่ขอให้การญิฮาดผ่านการรับรองของอุลามาอ์และมีแม่ทัพมุสลิมที่รู้หลักการศาสนาด้วยครับ ญิฮาดด้วยความรอบคอบสุขุม เฉพาะแต่กับคนที่ฆ่ามุสลิมเท่านั้น ให้เป็นพื้นที่ต่อสู้เป็นสัดส่วน ไมเอาสงครามกลางเมืองที่เข่นฆ่าพลเรือนโหดร้ายตัดคอประจาน สลัดทิ้งลัทธิชาตินิยมเชื้อชาตินิยมที่อิสลามไม่ยอมรับไปซะ ถ้ามีคนเชื้อสายสยามเคร่งครัดอิสลามก็ขอให้รักเขาดุจที่รักพี่น้องมลายู
เห็นใจพี่น้องมลายูมุสลิมครับ และผมก้มลายูไม่ลืมกำพืดแน่นอน แต่อิสลามคือกำพืดที่ยิ่งใหญ่กว่ามลายูครับ

ส่วนการฆ่าคนพุทธด้วยนำมือของคนมลายูบางคนที่ไม่เข้าใจหลักการ บ้าคลั่งชาตนิยมเราก็ต้องประนามต่อต้านครับ และต้องยอมรับครับว่ามันมีจริงๆ เป็นธรรมด้วยครับ การฆ่าพระปาดคอพระ ที่ผมเห็นจะๆที่วัดหน้าถำ ยะลา ตะโกนตักบีรด้วยความสะใจที่ฆ่าพระได้ ต้องยอมรับและประนามด้วยว่ามีมลายูเราทำแบบนี้จริงๆ

ขอเถิดพี่น้อง อย่าแตกแยกกันกว่านี้เลย ทุกคนที่อยู่ที่น้อาจมองว่าตนรู้ดีที่สุดแล้วว่าใครผิดใครถูก แต่ขอให้คิดว่าว่ายังมีปมอีกมากที่คุนและผมก็ไม่รุ้

การทะเลาะกันด้วยปันหานี้ผ่านเวปไซต์ไม่มีอะไรดีขึ้นรังแต่จะทำลายกันเอง

พี่น้องมลายูที่เจ้บปวดกับรัฐบาล ส่งเสริมครับที่ให้รวมกลุ่มกดดันรัฐบาลเดินไปหน้ารับสภาบอกอภิสิทให้รื้อคดีตากใบ สมชาย และอุ้มหายสมัยทักสินเหลี่ยมด้วย ไปสถานทูตมุสลิมบอกว่าทักสินคือคนชั่ว บีบอภิสิทให้รับผิดชอบปันหาตากใบ ดีกว่าเยอะครับที่มานั่งพูดในนี้ไม่ได้อะไร

พี่น้องมุสลิมที่เหนใจคนพุทธที่ถูกฆ่าก้ไปช่วยเหลือเขาครับ บอกกับเขาเท่าที่ทำได้ว่าเรื่องนี้อิสลามไม่เกี่ยว
เป้นเรื่องของคนบางพวกที่บ้าเชื้อชาติ


วัสสลาม

2
 salam

ผมได้รับการแนะนำมาจากคุณ Al-Fathoni ให้เข้ามาปรึกษาเรื่องชีอะฮฺจากผู้รู้ในเว็บนี้ พอดีไปเจอกระทู้บางอย่างที่ใส่ไคล้ซอฮาบะฮฺ นบี คงต้องรบกวรบังอัซฮารี่ช่วยโต้ตอบหน่อยสิครับ

ญะซะกัลลอฮฺค็อยร็อน

1. ชีอะฮฺกล่าวหาว่าท่านอบูบักรเผาคนทั้งเป็น
2.เศาะหาบะฮ์ทีโด่งดังที่สุดในการตัฟสีรกุรอ่านคือใคร
3.หะดีษ มะดีนะตุลอิลมิ “ เศาะหิ๊หฺ “ หรือ “ ดออีฟ “
4.ซุนนี่เล่าว่า ท่านอะลี “อะอ์ลัม “ที่สุดจริงหรือ ?
5.ท่านอุมัรบินคอตตอบ ขู่เผาบ้านบุตรสาวนบีจริงหรือ ?
6.ท่านหญิงอาอิชะฮ์ว่าท่านอุษมานเป็นกาเฟร

และอีกมากแห่งการด่าทอซอฮาบะฮฺ ไปพบได้ที่

http://www.q4sunni.com/believe/index.php?option=com_kunena&Itemid=71



3
 salam
บังผมมีเรื่องอยากถามมานานแล้ว แต่ไม่ได้ถามซักที วันนี้ต้องขอถามให้ได้และขอให้ตอบด้วยอย่างละเอียด
1. ผมได้ซื้อหะดีษ บุคอรีและมุสลิมฉบับ อาหรับไทย แบบครบชุด ผมอยากถามว่า ในหะดีษทั้งสองนั้นซอเฮี๊ยหมดรึปล่าว หรือมีผิดพลาดบ้าง
2. ผมมีความรุ้สึกที่ป่วนสับสนในอากีดะฮฺมาก เพราะผมได้ไปเจอเรื่องแปลกๆในหะดีษทั้งสอง เกี่ยวกับซีฟัตหรือลักษณะต่างๆของอัลลออฺ ที่ปรากฎในหะดีษ ขอพูดตรงๆผมรุสึกว่าหะดีษกับกุรอานนี้คนละเรื่องเลยนะ ตั้งแต่เล็กจนโตผมร้จักพระองค์อัลลอฮฺมาอย่างบริสุทธิ์ผมรู้สึกว่าพระองค์คือพระเจ้าที่แท้จริงที่บริสุทธิ์ และหนึ่งในเรื่องที่ทำให้ผมซาบซึ้งว่าพระองค์คือพระเจ้าที่แท้จริงหลักการที่ผมรรู้มาว่า "พระองค์ไม่เหมือนสิ่งใด ไม่มีสิ่งใดเสมอเหมือนพระองค์" นี่คือหลักเด่นมากที่มีอยู่แค่ในศาสนาอิสลาม เท่านั้น ในศาสนาอื่นๆไม่มีเลย และมันสิ่งที่ทำให้ผมศรัทธาในพระองค์เพราะผมคิดเอาว่า แน่นอนพระเจ้าที่แท้จริงย่อมไม่เหมือนสิ่งใด ไม่มีสิ่งใดเสมอเหมือนพระองค์ พระเจ้าที่มีลักษณะเหมือนมัคลูกย่อมเป็นพระเจ้าที่จอมปลอมแน่นอน เช่น พระเจ้าในความเข้าใจของยิวคริสพราหมณ์ แต่วันนี้ผมต้องเจ็บปวดมากเมื่อผมมาเจอหะดีษที่ทำเอาผมอึ้งที่เกี่ยวกับกับลักษณะของอัลลอฮฺที่ปรากฎในหนังสือหะดีษทั้งสอง ดังนี้
1. อัลลอฮฺ มี 5 นิ้ว
2.พระองค์ทรงหัวเราะ ทรงแปลกใจ
3. ทรงเสด็จลงมาฟากฟ้าชั้นล่าง คือเคลื้อนย้ายไปมา
3.ทรงสร้างโลก 7 วันแต่กุรอานบอก 6
4.ทรงวางพระบาทของพระองค์ในนรก
5. ดัจญาลตาเหล่แต่อัลลอฮฺไม่ตาเหล่
6.พระองค์สร้างอาดัมตามรูปลักของพระองค์ พระองมีรูปลักด้วยหรือ
นี่คือตัวอย่างมากมายที่ผมไม่เข้าใจว่ามันคือคำพูดของรอซูลจริงรึป่าว และยังมีอีกมากที่ดุเหมือนจะเป็นนิยาย(นาอูซูบิลละฮฺ พระองค์อภัยให้ข้าพระองค์ด้วยเถอะ) และผมยังเคยเจอเรื่องแปลกๆในหนังสือต่างๆที่ขายในไทย เช่น หนังสืออากีดะฮฺซุนนะ ของ มุฮำหมัด เหมอนุกูล มีบอกว่า "อะฮฺลิซซุนนะต่างเห็นพ้องว่าสำหรับอัลลออฺนั้นมีตา 2 ตา" หรืออีกเล่มนึงจำไม่ได้ บอกว่า กุรซีคือที่วางเท้าของพระองค์ ผมอยากให้บังชี้แจงหน่อยครับว่า หะดีษเหล่านี้ตลอดจนหนังสือเหล่านั้นซอเฮี๊ยะและเชื่อถือได้รึเปล่าตามลำดับ
3. ผมได้เคยอ่านหนังสือของพวกชีอะฮฺรวมถึงบางกลุ่มที่ค่อนข้างไม่เอาหะดีษทั้งสอง ได้ให้ความเห็นว่ามีความเป้นไปได้สูงที่เรื่องแปลกๆในหะดีษนั้น ถูกแทรกสอดเข้ามาจากศาสนาอื่น เช่น เรื่องซีฟัตอัลลอฮฺอาจถูกแทรกสอดเข้ามาจากความเชื่อของพวกยิว เช่น กะอับ อัล อะฮฺบาร เป็นต้น ซึ่งผมฟังก้รู้สึกมีเหตุผล เพราะมีหลายๆหะดีษที่คล้ายคลึงกับอากีดะฮฺคริสเตียน ไม่ทราบว่าเรื่องนี้เป็นจริงเท็จอย่างไร แล้วทำไมอุลามาซุนนีย์ถึงบอกว่าหะดีษทั้งสองซอเฮี๊ยะไม่พลาดเลย แล้วหะดีษเหล่านี้มาได้ไงครับ แต่เท่าที่ผมรู้การตรวจสอบหะดีษของอุลามาก้เข้มงวดน่าดู นี่นา ทำไมถึงเป็นงี้ได้
อยากให้บอกตอบอธิบายให้เข้าใจเป้นข้อๆครับ
วัสสลาม

4
salam

พอดีมีไฟลข้อมูล เก็บ ๆ มาจากเวบพันทิป เอามาช่วยส่วนหนึ่งนะคะ

1. เรื่องราวของซูเราะฮฺ อัตตะฮฺรีม

ซูเราะนี้มีความสำคัญมาก เพราะพูดถึงปัญหาสำคัญบางอย่างที่เกี่ยวกับภรรยาของท่านศาสดา


[66:1]โอ้นบีเอ๋ย ทำไมเจ้าจึงห้ามสิ่งที่อัลลอฮ์ทรงอนุมัติแก่เจ้า เพื่อแสวงหาความพึงพอใจบรรดาภริยาของเจ้าเล่า? และอัลลอฮ์นั้นเป็นผู้ทรงอภัย ผู้ทรงเมตตา

[66:2]
แน่นอนอัลลอฮ์ได้ทรงกำหนดแก่พวกเจ้าแล้วในการแก้คำสาบานของพวกเจ้า และอัลลอฮ์เป็นผู้ทรงคุ้มครองพวกเจ้า และพระองค์เป็นผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงปรีชาญาณ

[66:3]
และจงรำลึกขณะที่ท่านนบีได้บอกความลับเรื่องหนึ่งแก่ภริยาบางคนของเขา ครั้นเมื่อนางได้บอกเล่าเรื่องนี้ (แก่คนอื่น) และอัลลอฮ์ได้ทรงแจ้งเรื่องนี้แก่เขา (ท่านนบี) เขาก็ได้แจ้งบางส่วนของเรื่องนี้ และไม่แจ้งบางส่วน ครั้นเมื่อเขา (ท่านนบี) ได้แจ้งเรื่องนี้แก่นาง นางได้กล่าวว่า ใครบอกเล่าเรื่องนี้แก่ท่าน? เขา (ท่านนบี) กล่าวว่า พระผู้ทรงรอบรู้ พระผู้ทรงตระหนักยิ่ง ทรงแจ้งแก่ฉัน

[66:4]
หากเจ้าทั้งสองกลับเนื้อกลับตัวขออภัยโทษต่ออัลลอฮ์ (ก็จะเป็นการดีแก่เจ้าทั้งสอง) เพราะแน่นอนหัวใจของเจ้าทั้งสองก็โอนอ่อนอยู่แล้ว แต่หากเจ้าทั้งสองร่วมกันต่อต้านเขา (ท่านนบี) แท้จริงอัลลอฮ์ พระองค์เป็นผู้ทรงคุ้มครองของเขา อีกทั้งญิบรีลและบรรดาผู้ศรัทธาที่ดี ๆ และนอกจากนั้น มลาอิกะฮ์ก็ยังเป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุนอีกด้วย

[66:5]
หากเขาหย่าพวกนาง บางทีพระเจ้าของเขาจะทรงเปลี่ยนแปลงให้แก่เขามีภริยาที่ดีกว่าพวกนาง เป็นหญิงที่นอบน้อมถ่อมตน เป็นหญิงผู้ศรัทธา เป็นหญิงผู้ภักดี เป็นหญิงผู้ขอลุแก่โทษ เป็นหญิงผู้มั่นต่อการอิบาดะฮ์ เป็นหญิงผู้มั่นต่อการถือศีลอด เป็นหญิงที่เป็นหม้าย และที่เป็นหญิงสาว


ประการแรก คือ อำนาจในการกำหนดว่าอะไรเป็นที่อนุมัติและอะไรเป็นที่ต้องห้ามทั้งหมด เป็นสิทธิของอัลลอฮฺแต่เพียงผู้เดียว และไม่มีใครทำหน้าที่แทนพระองค์ได้ แม้แต่ท่านศาสดา นบีจะประกาศอะไรเป็นที่ต้องห้ามหรืออนุมัติ ก็ต่อเมื่อท่านได้รับวะฮีย์จากอัลลอฮฺให้ทำเช่นนั้นไม่ว่าสิ่งนั้นจะระบุไว้ในกุรอาน หรือเป็นวะฮีย์ที่ท่านได้มาอย่างลับๆ อย่างไรก็ตาม เมื่ออัลลอฮฺได้ทรงอนุมัติสิ่งใด แม้แต่นบีก๋ไม่มีสิทธิประกาศว่ามันต้องห้าม

ประการที่สอง ในสังคมใดก็ตาม ตำแหน่งนบีเป็นเรื่องละเอียดอ่อนมาก เรื่องเล็กๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของใครคนใดคนหนึ่งอาจไม่มีผลใดๆ ติดตามมา แต่กรณีที่เกิดกับนบีนั้นจะมีฐานะเป็นกฎหมาย นั้นคือเหตุผลว่าทำไมชีวิตของบรรดาท่านนบีจึงได้รับการเฝ้าดูอย่างใกล้ชิดจากอัลลอฮฺ ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ไม่มีการกระทำใดๆ ของท่านแม้แต่เรื่องเล็กๆน้อยๆ หลงออกไปจากเจตนารมณ์ของพระองค์ เมื่อใดก็ตามที่การกระทำเช่นนั้นเกิพขึ้นจากนบีคนใด มันก็จะได้รับการแก้ไขในทันที ทั้งนี้เพื่อที่กฎหมายอิสลาม และหลักการของกฎหมายจะได้ไปถึงผู้คนในสภาพที่บริสุทธิ์ ไม่เพียงแต่ในทางคัมภีร์เท่านั้น แต่ในทางแบบฉบับอันดีงามของท่านด้วย และทั้งสองทางนี้จะต้องไม่มีสิ่งใดที่ขัดต่อเจตนารมณ์ของอัลลอฮฺ

ประการที่สาม ซึ่งเป็นผลที่ติดตามมาจากสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นก็คือ เมื่อท่านนบีได้ถูกตรวจสอบในเรื่องเล็กๆน้อยๆ ซึงไม่เพียงแต่จะต้องถูกต้องเท่านั้น แต่ยังจะต้องถูกบันทึกไว้ด้วย มันก็ทำให้เราสบายใจได้ว่าการกระทำและคำบัญชาอะไรก็ตามที่ตอนนี้เราพบในชีวิตของท่านล้วนสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระเจ้า และเราสามารถนำมาใช้เป็นทางนำในการดำเนินชีวิตได้ด้วยความเชื่อมั้นและสบายใจอย่างเต็มที่

ประการที่สี่ ที่เราได้รู้ก็คือ การให้ความเคารพและยกย่องแก่ท่านนบีนั้น อัลลอฮฺได้กำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธาสำหรับบ่าวของพระองค์นั้น ได้มีกล่าวไว้ในซูเราะอฮฺนี้ว่า คั้งหนึ่งในชีวิตของท่าน ท่านได้เคยประกาศสิ่งที่อัลลอฮฺทรงอนุมัติให้เป็นสิ่งที่ต้องห้ามสำหรับตัวท่านเองเพียงเพื่อจะเอาใจบรรดาภรรยาของท่าน ดังนั้นอัลลอฮฺจึงได้ตำหนิบรรดาภรรยาของท่านอย่างหนัก สำหรับความผิดดังกล่าว ถึงแม้ว่าพระองค์จะทรงประกาศว่าพวกนางเป็นมารดาของผู้ศรัทธา และมีเกียรติอย่างสูงก็ตาม หลังจากนั้นการวิจารณ์ท่านนบี และการเตือนบรรดาภรรยาของท่านก็ไม่ได้กระทำอย่างลับ แต่ได้ถูกกล่าวไว้ในคัมภีร์ทื่ประชาคมมุสลิมจะต้องอ่านและท่องตลอดไปด้วย จะเห็นได้ว่าการเอ่ยถึงเรื่องนี้ไว้ในคัมภีร์ของอัลลอฮฺนั้น พระองค์มิได้มีเจตนาที่จะลดเกียรติของนบี และมารดาแห่งศรัธาชนในสายตาผู้ศรัทธา และเราก็ไม่เห็นว่ามีมุสลิมคนใดเห็นเป็นเช่นนั้น

(เครดิตคุณ dhean)




คืออยากทราบว่าแล้วเรื่องที่เกิดขึ้นนั้นเกิดเพราะอะไร เรื่องของทาสหรือนำผึ้ง

5
 salam

บัง อัซฮารีย์ครับ ตอนนี้ผมกำลังรวบรวมข้อมูลเพื่อเขียนเป็นวิทยานิพนตอบโต้การใส่ใคล้ท่านจึงวอนขอบังช่วยหาข้อมูลด้วย
1. ผมอยากทราบข้อเท็จจริงของเหตุการร์การประทาน ซูเราะอฺ อัตตะฮฺรีม ที่เป็นปัญหาระหว่างภรรยานบีว่าจริงๆแล้วการประทานซูเราะฮฺดังกล่าวมีที่มาที่ไปอย่างไร เพราะเท่าที่ผมรู้ บางรายงานบอกว่า มีเรื่องเพราะนบีไปนอนกับทาสสาวจึงเกิดความไม่พอใจในหมู่ภรรยา บางรายงานบอกเรื่องนำผึ้ง ผมอยากให้บังช่วยชี้แจงด้วยครับ เพราะส่วนมากกลุ่มต่อต้านอิสลามมักจะอ้างว่าเป้นเพราะเหตุผลแรก และพวกมันก้มักจะประนามท่านนบีว่าเป้นคนมักมากกะล่อนไปหลับนอนกับทาสจนภรรยาไม่พอใจ(นะอูซูบิลละอฺ มินซาลิก) อยากให้บังช่วยเขียนตอบโต้ได้ไหมครับ
2.อยากให้บังช่วยพุดถึงการทำสงครามของท่านนบี(ซ็อลฯ) ว่ามีเหตุผลอะไร และอิสลามมีทัศนะอย่างไรเรื่องสงคราม และทำไมศาสดาของอิสลามเพียงคนเดียวเท่านั้นที่ทำสงครามเพราะศาสดาของศาสนาอื่นไม่ทำสงครามแต่ใช้วิธีการเผยแพร่ธรรมดาๆ พร้อมทั้งให้บังเจาะจงรายละเอียดในสงครามแต่ละครั้งว่ามีเหตุผลอะไรในการทำสงคราม และความชอบธรรม และสงครามทั้งหมดที่ท่านนบีทำมีกี่ครั้งครับ
3.มีตำราฝรั่งหลายเล่มมักจะใส่ไคล้ท่านนบีว่าโหดร้ายต่อการตัดสิน พวกยิวกุร็อยเซาะ อยากให้บังช่วยชี้แจงเหตุผลด้วยครับ
4. การแต่งงานกับท่านหญิงอาอีชะฮฺ อยากให้บังช่วยนำข้อมูลจากอุลามาอาหรับมาแปลเสนอด้วยครับว่าอุลามามีข้อตอบโต้พวกฝรั่งอย่างไร
ครับขอแค่นี้ก่อนครับ
วัสสลาม

6
ตกลงมีใครจะสอนไหมนี่

7
คือผมอ่านออก แต่ไม่รู้หลักภาษา ไวยากรณ์นะ

8
 salam
พี่น้องมุสลิมทุกท่าน ผมอยากเป็นภาษารูมี อ่าครับ แต่ไม่มีพื้นเลยพูดเป็นแต่มลายูบ้านๆ ในที่นี้ใครพอจะสอนได้บ้างครับ Oops:

9
 salam
เอาเถอะจะผู้หญิงหรือผู้หญิง ผมว่าไม่จำเป้นต้องมองลึกขนาดนั้นหรอก เอาเป็นว่าโดยสรุป
ผู้หญิงกับผุ้ชายมีจุดแตกต่างกัน และจุดต่างตรงนี้เองที่เป็นจุดก่อเกิดที่ทั้งชายและหญิงต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน ซึ่งจะนำมาซึ่งความรักและการช่วยเหลือเก้อกูลกัน ดังนั้นทั้งชายและหญิงที่มีครอบครัวแล้ว ก็ รักและซื่อสัตย์กับครอบครัวไว้
ผุ้ชายก็ควรใช้ความแข็งแกร่งปกป้องภรรยา สุภาพและนิ่มนวลกับภรรยาไว้ และควรจะยอมเธอบ้างในบางเรื่องที่ไม่เสียหาย เพราะผู้หญิงมีนิสัยดึงดันเป็นธรรมชาติ
ผู้หญิงก็ควรเอาใจสามี ให้เกียรติพูดให้กำลังใจสามี และทำตัวให้น่ารักๆ เวลาอยู่กับสามี ในบางครั้งต้องชื่นชมสามีบ้าง เพราะธรรมชาติของผู้ชายมักจะมีความภาคภูมิใจในการสร้างสรรค์ของตนเองมากกว่าผุ้หญิง
 

แค่นี้ชีวิตคู่ก็มีความสุขแล้ว ไม่จำเป็นต้องไปอ่านตำรารักๆใคร่ๆจอมปลอมของพวกฝรั่งให้ปวดเฮด

10
)
قَوْله : ( وَاسْتَاقُوا النَّعَم )
مِنْ السَّوْقِ وَهُوَ السَّيْرُ الْعَنِيفُ .
)
قَوْله : ( فَجَاءَ الْخَبَر )
فِي رِوَايَةِ وُهَيْب عَنْ أَيُّوبَ " الصَّرِيخُ " بِالْخَاء الْمُعْجَمَةِ وَهُوَ فَعِيلٌ بِمَعْنَى فَاعِل أَيْ صَرَخَ بِالْإِعْلَامِ بِمَا وَقَعَ مِنْهُمْ ، وَهَذَا الصَّارِخ أَحَد الرَّاعِيَيْنِ كَمَا ثَبَتَ فِي صَحِيحِ أَبِي عَوَانَةَ مِنْ رِوَايَةِ مُعَاوِيَة بْن قُرَّةَ عَنْ أَنَس ، وَقَدْ أَخْرَجَ مُسْلِم إِسْنَاده وَلَفْظُهُ " فَقَتَلُوا أَحَد الرَّاعِيَيْنِ وَجَاءَ الْآخَر قَدْ جَزِعَ فَقَالَ : قَدْ قَتَلُوا صَاحِبِي وَذَهَبُوا بِالْإِبِلِ " وَاسْم رَاعِي النَّبِيّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ الْمَقْتُولِ يَسَارُ بِيَاءٍ تَحْتَانِيَّةٍ ثُمَّ مُهْمَلَة خَفِيفَة كَذَا ذَكَرَهُ اِبْن إِسْحَاق فِي الْمَغَازِي وَرَوَاهُ الطَّبَرَانِيّ مَوْصُولًا مِنْ حَدِيث سَلَمَة بْن الْأَكْوَعِ بِإِسْنَادِ صَالِحٍ قَالَ " كَانَ لِلنَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ غُلَام يُقَالُ لَهُ يَسَار " زَادَ اِبْن إِسْحَاق " أَصَابَهُ فِي غَزْوَةِ بَنِي ثَعْلَبَة " قَالَ سَلَمَة " فَرَآهُ يُحْسِنُ الصَّلَاة فَأَعْتَقَهُ وَبَعَثَهُ فِي لِقَاحٍ لَهُ بِالْحَرَّةِ فَكَانَ بِهَا " فَذَكَرَ قِصَّةَ الْعُرَنِيِّنَ وَأَنَّهُمْ قَتَلُوهُ وَلَمْ أَقِفْ عَلَى تَسْمِيَة الرَّاعِي الْآتِي بِالْخَبَرِ ، وَالظَّاهِرُ أَنَّهُ رَاعِي إِبِلِ الصَّدَقَةِ وَلَمْ تَخْتَلِفْ رِوَايَات الْبُخَارِيّ فِي أَنَّ الْمَقْتُولَ رَاعِي النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَفِي ذِكْرِهِ بِالْإِفْرَادِ ، وَكَذَا لِمُسْلِمٍ لَكِنْ عِنْدَهُ مِنْ رِوَايَةِ عَبْد الْعَزِيز بْن صُهَيْب عَنْ أَنَس " ثُمَّ مَالُوا عَلَى الرُّعَاةِ فَقَتَلُوهُمْ " بِصِيغَةِ الْجَمْعِ ، وَنَحْوُهُ لِابْنِ حِبَّانَ مِنْ رِوَايَةِ يَحْيَى بْن سَعِيد عَنْ أَنَس فَيُحْتَمَلُ أَنْ إِبِل الصَّدَقَةِ كَانَ لَهَا رُعَاة فَقُتِلَ بَعْضُهُمْ مَعَ رَاعِي اللِّقَاح فَاقْتَصَرَ بَعْض الرُّوَاةِ عَلَى رَاعِي النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَذَكَرَ بَعْضهمْ مَعَهُ غَيْرُهُ وَيُحْتَمَلُ أَنْ يَكُونَ بَعْض الرُّوَاةِ ذَكَرَهُ بِالْمَعْنَى فَتَجُوزُ فِي الْإِتْيَانِ بِصِيغَةِ الْجَمْعِ ، وَهَذَا أَرْجَح ؛ لِأَنَّ أَصْحَابَ الْمَغَازِي لَمْ يَذْكُرْ أَحَد مِنْهُمْ أَنَّهُمْ قَتَلُوا غَيْر يَسَار وَاَللَّه أَعْلَمُ .
قَوْله : ( فَبَعَثَ فِي آثَارِهِمْ )
زَاد فِي رِوَايَةِ الْأَوْزَاعِيّ " الطَّلَب " وَفِي حَدِيث سَلَمَة بْن الْأَكْوَعِ " خَيْلًا مِنْ الْمُسْلِمِينَ أَمِيرهمْ كُرْزُ بْن جَابِر الْفِهْرِيّ " وَكَذَا ذَكَرَهُ اِبْن إِسْحَاق وَالْأَكْثَرُونَ وَهُوَ بِضَمِّ الْكَافِ وَسُكُون الرَّاءِ بَعْدَهَا زَاي وَلِلنَّسَائِيِّ مِنْ رِوَايَةِ الْأَوْزَاعِيّ " فَبَعَثَ فِي طَلَبِهِمْ قَافَة " أَيْ جَمْعَ قَائِفٍ وَلِمُسْلِمٍ مِنْ رِوَايَةِ مُعَاوِيَة بْن قُرَّةَ عَنْ أَنَس أَنَّهُمْ شَبَابٌ مِنْ الْأَنْصَارِ قَرِيب مِنْ عِشْرِينَ رَجُلًا وَبَعَثَ مَعَهُمْ قَائِفًا يَقْتَصُّ آثَارهمْ وَلَمْ أَقِفْ عَلَى اِسْمِ هَذَا الْقَائِف وَلَا عَلَى اِسْم وَاحِدٍ مِنْ الْعِشْرِينَ لَكِنْ فِي مَغَازِي الْوَاقِدِيّ أَنَّ السَّرِيَّةَ كَانَتْ عِشْرِينَ رَجُلًا وَلَمْ يَقُلْ مِنْ الْأَنْصَارِ بَلْ سَمَّى مِنْهُمْ جَمَاعَةً مِنْ الْمُهَاجِرِينَ مِنْهُمْ بُرَيْدَة بْن الْحُصَيْبِ وَسَلَمَة بْن الْأَكْوَع الْأَسْلَمِيَّانِ وَجُنْدُب وَرَافِع اِبْنَا مَكِيث الْجُهَنِيَّانِ وَأَبُو ذَرٍّ وَأَبُو رُهْمٍ الْغِفَارِيَّانِ وَبِلَال بْن الْحَارِث وَعَبْد اللَّه بْن عَمْرو بْن عَوْف الْمُزَنِيَّانِ وَغَيْرهمْ ، وَالْوَاقِدِيُّ لَا يَحْتَجُّ بِهِ إِذَا اِنْفَرَدَ فَكَيْفَ إِذَا خَالَفَ لَكِنْ يُحْتَمَلُ أَنْ يَكُونَ مَنْ لَمْ يُسَمِّهِ الْوَاقِدِيّ مِنْ الْأَنْصَارِ فَأُطْلِقَ الْأَنْصَارُ تَغْلِيبًا أَوْ قِيلَ لِلْجَمِيعِ أَنْصَار بِالْمَعْنَى الْأَعَمِّ . وَفِي مَغَازِي مُوسَى بْن عُقْبَةَ أَنَّ أَمِيرَ هَذِهِ السَّرِيَّةِ سَعِيد بْن زَيْد كَذَا عِنْدَهُ بِزِيَادَة يَاء وَاَلَّذِي ذَكَرَهُ غَيْرُهُ أَنَّهُ سَعْد بِسُكُونِ الْعَيْنِ بْن زَيْد الْأَشْهَلِيُّ وَهَذَا أَيْضًا أَنْصَارِيّ فَيُحْتَمَلُ أَنَّهُ كَانَ رَأْسَ الْأَنْصَارِ وَكَانَ كُرْز أَمِير الْجَمَاعَة . وَرَوَى الطَّبَرِيّ وَغَيْره مِنْ حَدِيثِ جَرِير بْن عَبْد اللَّه الْبَجَلِيّ أَنَّ النَّبِيَّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ بَعَثَهُ فِي آثَارِهِمْ لَكِنَّ إِسْنَادَهُ ضَعِيف وَالْمَعْرُوفُ أَنَّ جَرِيرًا تَأَخَّرَ إِسْلَامُهُ عَنْ هَذَا الْوَقْتِ بِمُدَّة ، وَاَللَّهُ أَعْلَمُ .
قَوْله : ( فَلَمَّا اِرْتَفَعَ )
فِيهِ حَذْف تَقْدِيرُهُ فَأُدْرِكُوا فِي ذَلِكَ الْيَوْمِ فَأُخِذُوا فَلَمَّا اِرْتَفَعَ النَّهَار جِيءَ بِهِمْ أَيْ إِلَى النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ أُسَارَى .
قَوْله : ( فَأَمَرَ بِقَطْعِ )
كَذَا لِلْأَصِيلِيّ وَالْمُسْتَمْلِي وَاَلسَّرْخَسِيّ وَلِلْبَاقِينَ فَقَطَعَ أَيْدِيَهُمْ وَأَرْجُلَهُمْ قَالَ الدَّاوُدِيّ : يَعْنِي قَطْع يَدَيْ كُلّ وَاحِد وَرِجْلَيْهِ . قُلْت : تَرُدُّهُ رِوَايَةُ التِّرْمِذِيِّ " مِنْ خِلَاف " وَكَذَا ذَكَرَهُ الْإِسْمَاعِيلِيّ عَنْ الْفِرْيَابِيّ عَنْ الْأَوْزَاعِيّ بِسَنَدِهِ وَلِلْمُصَنِّفِ مِنْ رِوَايَةِ الْأَوْزَاعِيّ أَيْضًا " وَلَمْ يَحْسِمْهُمْ " أَيْ لَمْ يَكْوِ مَا قَطَعَ مِنْهُمْ بِالنَّارِ لِيَنْقَطِع الدَّم بَلْ تَرَكَهُ يَنْزِفُ .
قَوْله : ( وَسُمِّرَتْ أَعْيُنهمْ )
تَشْدِيد الْمِيمِ وَفِي رِوَايَةِ أَبِي رَجَاء " وَسَمَرَ " بِتَخْفِيف الْمِيم وَلَمْ تَخْتَلِفْ رِوَايَات الْبُخَارِيّ فِي أَنَّهُ بِالرَّاءِ وَوَقَعَ لِمُسْلِمٍ مِنْ رِوَايَةِ عَبْد الْعَزِيز " وَسَمَلَ " بِالتَّخْفِيفِ وَاللَّام قَالَ الْخَطَّابِيّ السَّمْل : فَقْءُ الْعَيْنِ بِأَيِّ شَيْءٍ كَانَ قَالَ أَبُو ذُؤَيْب الْهُذَلِيّ : وَالْعَيْن بَعْدهمْ كَأَنَّ حِدَاقَهَا سُمِلَتْ بِشَوْكٍ فَهِيَ عُورٌ تَدْمَعُ قَالَ : وَالسَّمْرُ لُغَة فِي السَّمْلِ وَمَخْرَجهمَا مُتَقَارِب . قَالَ : وَقَدْ يَكُونُ مِنْ الْمِسْمَارِ يُرِيدُ أَنَّهُمْ كُحِّلُوا بِأَمْيَالٍ قَدْ أُحْمِيَتْ . قُلْت : قَدْ وَقَعَ التَّصْرِيحُ بِالْمُرَادِ عِنْدَ الْمُصَنِّفِ مِنْ رِوَايَةِ وُهَيْب عَنْ أَيُّوبَ وَمِنْ رِوَايَةِ الْأَوْزَاعِيّ عَنْ يَحْيَى كِلَاهُمَا عَنْ أَبِي قِلَابَةَ وَلَفْظُهُ " ثُمَّ أَمَرَ بِمَسَامِيرَ فَأُحْمِيَتْ فَكَحَلهمْ بِهَا " فَهَذَا يُوَضِّحُ مَا تَقَدَّمَ وَلَا يُخَالِفُ ذَلِكَ رِوَايَة السَّمْل ؛ لِأَنَّهُ فَقْءُ الْعَيْنِ بِأَيِّ شَيْءٍ كَانَ كَمَا مَضَى .
قَوْله : ( وَأُلْقُوا فِي الْحَرَّةِ )
هِيَ أَرْضٌ ذَاتُ حِجَارَةٍ سُودٍ مَعْرُوفَة بِالْمَدِينَةِ وَإِنَّمَا أُلْقُوا فِيهَا ؛ لِأَنَّهَا قُرْبُ الْمَكَانِ الَّذِي فَعَلُوا فِيهِ مَا فَعَلُوا .
)
قَوْله : ( يَسْتَسْقُونَ فَلَا يُسْقَوْنَ )
زَاد وُهَيْب وَالْأَوْزَاعِيّ " حَتَّى مَاتُوا " وَفِي رِوَايَةِ أَبِي رَجَاء " ثُمَّ نَبَذَهُمْ فِي الشَّمْسِ حَتَّى مَاتُوا " وَفِي رِوَايَةِ شُعْبَةَ عَنْ قَتَادَة " يَعَضُّونَ الْحِجَارَة " وَفِي الطِّبِّ مِنْ رِوَايَةِ ثَابِت قَالَ أَنَس " فَرَأَيْت الرَّجُلَ مِنْهُمْ يَكْدُمُ الْأَرْض بِلِسَانِهِ حَتَّى يَمُوتَ " وَلِأَبِي عَوَانَةَ مِنْ هَذَا الْوَجْهِ " يَعَضُّ الْأَرْضَ لِيَجِدَ بَرْدَهَا مِمَّا يَجِدُ مِنْ الْحَرِّ وَالشِّدَّةِ " . وَزَعَمَ الْوَاقِدِيّ أَنَّهُمْ صُلِبُوا وَالرِّوَايَاتُ الصَّحِيحَةُ تَرُدُّهُ . لَكِنْ عِنْد أَبِي عَوَانَةَ مِنْ رِوَايَةِ أَبِي عَقِيل عَنْ أَنَس " فَصَلَبَ اِثْنَيْنِ وَقَطَعَ اِثْنَيْنِ وَسَمَلَ اِثْنَيْنِ " كَذَا ذَكَرَ سِتَّة فَقَطْ فَإِنْ كَانَ مَحْفُوظًا فَعُقُوبَتهمْ كَانَتْ مُوَزَّعَة . وَمَالَ جَمَاعَة مِنْهُمْ اِبْن الْجَوْزِيِّ إِلَى أَنَّ ذَلِكَ وَقَعَ عَلَيْهِمْ عَلَى سَبِيلِ الْقِصَاصِ ؛ لِمَا عِنْد مُسْلِم مِنْ حَدِيثِ سُلَيْمَان التَّيْمِيّ عَنْ أَنَس " إِنَّمَا سَمَلَ النَّبِيّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ أَعْيُنَهُمْ ؛ لِأَنَّهُمْ سَمَلُوا أَعْيُنَ الرُّعَاةِ " وَقَصَّرَ مَنْ اِقْتَصَرَ فِي عَزْوِهِ لِلتِّرْمِذِيِّ وَالنَّسَائِيّ وَتَعَقَّبَهُ اِبْن دَقِيقِ الْعِيدِ بِأَنَّ الْمُثْلَةَ فِي حَقِّهِمْ وَقَعَتْ مِنْ جِهَاتٍ وَلَيْسَ فِي الْحَدِيثِ إِلَّا السَّمْل فَيَحْتَاجُ إِلَى ثُبُوت الْبَقِيَّة . قُلْت : كَأَنَّهُمْ تَمَسَّكُوا بِمَا نَقَلَهُ أَهْل الْمَغَازِي أَنَّهُمْ مَثَّلُوا بِالرَّاعِي وَذَهَبَ آخَرُونَ إِلَى أَنَّ ذَلِكَ مَنْسُوخٌ قَالَ اِبْن شَاهِين عَقِب حَدِيث عِمْرَان بْن حُصَيْنٍ فِي النَّهْيِ عَنْ الْمُثْلَةِ : هَذَا الْحَدِيثُ يَنْسَخُ كُلّ مُثْلَة . وَتَعَقَّبَهُ اِبْن الْجَوْزِيِّ بِأَنَّ اِدِّعَاءَ النَّسْخِ يَحْتَاجُ إِلَى تَارِيخ . قُلْت : يَدُلُّ عَلَيْهِ مَا رَوَاهُ الْبُخَارِيّ فِي الْجِهَادِ مِنْ حَدِيثِ أَبِي هُرَيْرَة فِي النَّهْيِ عَنْ التَّعْذِيبِ بِالنَّارِ بَعْدَ الْإِذْنِ فِيهِ وَقِصَّة الْعُرَنِيِّنَ قَبْلَ إِسْلَام أَبِي هُرَيْرَة وَقَدْ حَضَرَ الْإِذْن ثُمَّ النَّهْي . وَرَوَى قَتَادَة عَنْ اِبْنِ سِيرِينَ أَنَّ قِصَّتَهُمْ كَانَتْ قَبْلَ أَنْ تَنْزِلَ الْحُدُود وَلِمُوسَى بْن عُقْبَةَ فِي الْمَغَازِي : وَذَكَرُوا أَنَّ النَّبِيَّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ نَهَى بَعْدَ ذَلِكَ عَنْ الْمُثْلَةِ بِالْآيَةِ الَّتِي فِي سُورَةِ الْمَائِدَةِ وَإِلَى هَذَا مَالَ الْبُخَارِيّ وَحَكَاهُ إِمَامُ الْحَرَمَيْنِ فِي النِّهَايَةِ عَنْ الشَّافِعِيِّ وَاسْتَشْكَلَ الْقَاضِي عِيَاض عَدَم سَقْيهمْ الْمَاء لِلْإِجْمَاعِ عَلَى أَنَّ مَنْ وَجَبَ عَلَيْهِ الْقَتْلُ فَاسْتَسْقَى لَا يُمْنَعُ وَأَجَابَ بِأَنَّ ذَلِكَ لَمْ يَقَعْ عَنْ أَمْرِ النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَلَا وَقَعَ مِنْهُ نَهْي عَنْ سَقْيِهِمْ اِنْتَهَى . وَهُوَ ضَعِيفٌ جِدًّا ؛ لِأَنَّ النَّبِيَّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ اِطَّلَعَ عَلَى ذَلِكَ وَسُكُوته كَافٍ فِي ثُبُوتِ الْحُكْمِ . وَأَجَابَ النَّوَوِيّ بِأَنَّ الْمُحَارِب الْمُرْتَدّ لَا حُرْمَةَ لَهُ فِي سَقْيِ الْمَاءِ وَلَا غَيْره وَيَدُلُّ عَلَيْهِ أَنَّ مَنْ لَيْسَ مَعَهُ مَاءٌ إِلَّا لِطَهَارَتِهِ لَيْسَ لَهُ أَنْ يَسْقِيَهُ لِلْمُرْتَدِّ وَيَتَيَمَّمَ بَلْ يَسْتَعْمِلُهُ وَلَوْ مَاتَ الْمُرْتَدُّ عَطَشًا وَقَالَ الْخَطَّابِيّ : إِنَّمَا فَعَلَ النَّبِيُّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ بِهِمْ ذَلِكَ ؛ لِأَنَّهُ أَرَادَ بِهِمْ الْمَوْتَ بِذَلِكَ وَقِيلَ : إِنَّ الْحِكْمَةَ فِي تَعْطِيشِهِمْ ؛ لِكَوْنِهِمْ كَفَرُوا نِعْمَة سَقْي أَلْبَان الْإِبِلِ الَّتِي حَصَلَ لَهُمْ بِهَا الشِّفَاءُ مِنْ الْجُوعِ وَالْوَخْم وَلِأَنَّ النَّبِيَّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ دَعَا بِالْعَطَشِ عَلَى مَنْ عَطَّشَ آلَ بَيْتِهِ فِي قِصَّةٍ رَوَاهَا النَّسَائِيّ فَيُحْتَمَلُ أَنْ يَكُونُوا فِي تِلْكَ اللَّيْلَةِ مَنَعُوا إِرْسَال مَا جَرَتْ بِهِ الْعَادَةُ مِنْ اللَّبَنِ الَّذِي كَانَ يُرَاحُ بِهِ إِلَى النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ مِنْ لِقَاحِهِ فِي كُلِّ لَيْلَةٍ كَمَا ذَكَرَ ذَلِكَ اِبْن سَعْد وَاللَّه أَعْلَمُ
)
قَوْله : ( قَالَ أَبُو قِلَابَةَ فَهَؤُلَاءِ سَرَقُوا )
أَيْ لِأَنَّهُمْ أَخَذُوا اللِّقَاحَ مِنْ حِرْزٍ مِثْلهَا وَهَذَا قَالَهُ أَبُو قِلَابَةَ اِسْتِنْبَاطًا .
)
قَوْله : ( وَقَتَلُوا )
أَيْ الرَّاعِي كَمَا تَقَدَّمَ .
قَوْله : ( وَكَفَرُوا )
هُوَ فِي رِوَايَةِ سَعِيدٍ عَنْ قَتَادَة عَنْ أَنَسِ فِي الْمَغَازِي وَكَذَا فِي رِوَايَةِ وُهَيْب عَنْ أَيُّوبَ فِي الْجِهَادِ فِي أَصْلِ الْحَدِيثِ وَلَيْسَ مَوْقُوفًا عَلَى أَبِي قِلَابَةَ كَمَا تَوَهَّمَهُ بَعْضهمْ وَكَذَا قَوْله " وَحَارَبُوا " ثَبَتَ عِنْدَ أَحْمَدَ مِنْ رِوَايَةِ حُمَيْدٍ عَنْ أَنَس فِي أَصْلِ الْحَدِيثِ " وَهَرَبُوا مُحَارِبِينَ " وَسَتَأْتِي قِصَّة أَبِي قِلَابَةَ فِي هَذَا الْحَدِيثِ مَعَ عُمَر بْن عَبْد الْعَزِيز فِي مَسْأَلَة الْقَسَامَة مِنْ كِتَاب الدِّيَات إِنْ شَاءَ اللَّهُ تَعَالَى . وَفِي هَذَا الْحَدِيثِ مِنْ الْفَوَائِدِ غَيْر مَا تَقَدَّمَ : قُدُومُ ا

11
زَادَ فِي رِوَايَةِ يَحْيَى بْن أَبِي كَثِير قَبْلَ هَذَا " فَأَسْلَمُوا " وَفِي رِوَايَةِ أَبِي رَجَاء قَبْلَ هَذَا " فَبَايَعُوهُ عَلَى الْإِسْلَامِ " قَالَ اِبْن فَارِس : اجْتَوَيْت الْبَلَد إِذَا كَرَهْت الْمُقَام فِيهِ وَإِنْ كُنْت فِي نِعْمَة . وَقَيَّدَهُ الْخَطَّابِيُّ بِمَا إِذَا تَضَرَّرَ بِالْإِقَامَةِ وَهُوَ الْمُنَاسِبُ لِهَذِهِ الْقِصَّةِ . وَقَالَ الْقَزَّاز : اجْتَوَوْا أَيْ لَمْ يُوَافِقْهُمْ طَعَامهَا وَقَالَ اِبْن الْعَرَبِيِّ : الْجَوَى دَاء يَأْخُذُ مِنْ الْوَبَاءِ . وَفِي رِوَايَةٍ أُخْرَى يَعْنِي رِوَايَة أَبِي رَجَاء الْمَذْكُورَة " اِسْتَوْخَمُوا " قَالَ وَهُوَ بِمَعْنَاهُ . وَقَالَ غَيْره : الْجَوَى دَاء يُصِيبُ الْجَوْف . وَلِلْمُصَنِّفِ مِنْ رِوَايَةِ سَعِيدٍ عَنْ قَتَادَة فِي هَذِهِ الْقِصَّةِ " فَقَالُوا : يَا نَبِيّ اللَّهِ إِنَّا كُنَّا أَهْل ضَرْع وَلَمْ نَكُنْ أَهْلَ رِيف " . وَلَهُ فِي الطِّبِّ مِنْ رِوَايَةِ ثَابِتٍ عَنْ أَنَس " أَنَّ نَاسًا كَانَ بِهِمْ سَقَمٌ قَالُوا : يَا رَسُول اللَّهِ آوِنَا وَأَطْعِمْنَا فَلَمَّا صَحُّوا قَالُوا : إِنَّ الْمَدِينَةَ وَخِمَة " . وَالظَّاهِرُ أَنَّهُمْ قَدِمُوا سِقَامًا فَلَمَّا صَحُّوا مِنْ السَّقَمِ كَرِهُوا الْإِقَامَةَ بِالْمَدِينَةِ لِوَخَمِهَا ، فَأَمَّا السَّقَمُ الَّذِي كَانَ بِهِمْ فَهُوَ الْهُزَالُ الشَّدِيدُ وَالْجَهْد مِنْ الْجُوعِ فَعِنْد أَبِي عَوَانَةَ مِنْ رِوَايَة غَيْلَان عَنْ أَنَس " كَانَ بِهِمْ هُزَال شَدِيد " وَعِنْدَهُ مِنْ رِوَايَةِ أَبِي سَعْد عَنْهُ " مُصْفَرَّة أَلْوَانُهُمْ " . وَأَمَّا الْوَخْمُ الَّذِي شَكَوْا مِنْهُ بَعْدَ أَنْ صَحَّتْ أَجْسَامُهُمْ فَهُوَ مِنْ حُمَّى الْمَدِينَة كَمَا عِنْدَ أَحْمَدَ مِنْ رِوَايَةِ حُمَيْدٍ عَنْ أَنَس وَسَيَأْتِي ذِكْرُ حُمَّى الْمَدِينَة مِنْ حَدِيثِ عَائِشَة فِي الطِّبِّ وَأَنَّ النَّبِيَّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ دَعَا اللَّهَ أَنْ يَنْقُلَهَا إِلَى الْجُحْفَةِ . وَوَقَعَ عِنْد مُسْلِم مِنْ رِوَايَةِ مُعَاوِيَة بْن قُرَّة عَنْ أَنَس " وَقَعَ بِالْمَدِينَةِ الْمُوم " أَيْ بِضَمِّ الْمِيمِ وَسُكُون الْوَاوِ قَالَ : وَهُوَ الْبِرْسَامُ أَيْ بِكَسْرِ الْمُوَحَّدَةِ سُرْيَانِيّ مُعَرَّب أُطْلِقَ عَلَى اِخْتِلَالِ الْعَقْلِ وَعَلَى وَرَمِ الرَّأْسِ وَعَلَى وَرَمِ الصَّدْرِ وَالْمُرَاد هُنَا الْأَخِير . فَعِنْد أَبِي عَوَانَةَ مِنْ رِوَايَةِ هَمَّام عَنْ قَتَادَة عَنْ أَنَس فِي هَذِهِ الْقِصَّةِ " فَعَظُمَتْ بُطُونُهُمْ " .
قَوْله : ( فَأَمَرَهُمْ بِلِقَاحٍ )
أَيْ فَأَمَرَهُمْ أَنْ يَلْحَقُوا بِهَا وَلِلْمُصَنِّفِ فِي رِوَايَةِ هَمَّام عَنْ قَتَادَة " فَأَمَرَهُمْ أَنْ يَلْحَقُوا بِرَاعِيهِ " وَلَهُ عَنْ قُتَيْبَةَ عَنْ حَمَّاد " فَأَمَرَ لَهُمْ بِلِقَاح " ؛ بِزِيَادَة اللَّام فَيُحْتَمَلُ أَنْ تَكُونَ زَائِدَة أَوْ لِلتَّعْلِيلِ أَوْ لِشِبْهِ الْمِلْكِ أَوْ لِلِاخْتِصَاصِ وَلَيْسَتْ لِلتَّمْلِيكِ وَعِنْد أَبِي عَوَانَةَ مِنْ رِوَايَةِ مُعَاوِيَة بْن قُرَّة الَّتِي أَخْرَجَ مُسْلِم إِسْنَادهَا " أَنَّهُمْ بَدَءُوا بِطَلَبِ الْخُرُوجِ إِلَى اللِّقَاحِ فَقَالُوا : يَا رَسُول اللَّهِ قَدْ وَقَعَ هَذَا الْوَجَعُ فَلَوْ أَذِنْتَ لَنَا فَخَرَجْنَا إِلَى الْإِبِلِ " وَلِلْمُصَنِّفِ مِنْ رِوَايَةِ وُهَيْب عَنْ أَيُّوبَ أَنَّهُمْ قَالُوا " يَا رَسُول اللَّهِ أَبْغِنَا رِسْلًا " أَيْ اُطْلُبْ لَنَا لَبَنًا " قَالَ مَا أَجِدُ لَكُمْ إِلَّا أَنْ تَلْحَقُوا بِالذَّوْدِ " وَفِي رِوَايَةِ أَبِي رَجَاء " هَذِهِ نَعَمٌ لَنَا تَخْرُجُ فَاخْرُجُوا فِيهَا " . وَاللِّقَاحُ بِاللَّامِ الْمَكْسُورَةِ وَالْقَافِ وَآخِره مُهْمَلَة : النُّوقُ ذَوَات الْأَلْبَانِ وَاحِدُهَا لِقْحَة بِكَسْرِ اللَّامِ وَإِسْكَان الْقَاف وَقَالَ أَبُو عَمْرو : يُقَالُ لَهَا ذَلِكَ إِلَى ثَلَاثَةِ أَشْهُرٍ ثُمَّ هِيَ لَبُونٌ وَظَاهِرُ مَا مَضَى أَنَّ اللِّقَاحَ كَانَتْ لِلنَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَصَرَّحَ بِذَلِكَ فِي الْمُحَارِبِينَ عَنْ مُوسَى عَنْ وُهَيْب بِسَنَدِهِ فَقَالَ " إِلَّا أَنْ تَلْحَقُوا بِإِبِل رَسُول اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ " وَلَهُ فِيهِ مِنْ رِوَايَةِ الْأَوْزَاعِيّ عَنْ يَحْيَى بْن أَبِي كَثِير بِسَنَدِهِ " فَأَمَرَهُمْ أَنْ يَأْتُوا إِبِل الصَّدَقَةِ " وَكَذَا فِي الزَّكَاةِ مِنْ طَرِيقِ شُعْبَةَ عَنْ قَتَادَة ، وَالْجَمْع بَيْنَهُمَا أَنَّ إِبِلَ الصَّدَقَةِ كَانَتْ تَرْعَى خَارِجَ الْمَدِينَةِ وَصَادَفَ بَعْث النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ بِلِقَاحِهِ إِلَى الْمَرْعَى مَا طَلَبَ هَؤُلَاءِ النَّفَر الْخُرُوج إِلَى الصَّحْرَاءِ لِشُرْبِ أَلْبَانِ الْإِبِلِ فَأَمَرَهُمْ أَنْ يَخْرُجُوا مَعَ رَاعِيهِ فَخَرَجُوا مَعَهُ إِلَى الْإِبِلِ فَفَعَلُوا مَا فَعَلُوا وَظَهَرَ بِذَلِكَ مِصْدَاق قَوْله صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ " إِنَّ الْمَدِينَةَ تَنْفِي خَبَثَهَا " وَسَيَأْتِي فِي مَوْضِعِهِ . وَذَكَرَ اِبْن سَعْد أَنَّ عَدَد لِقَاحه صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ كَانَتْ خَمْسَ عَشْرَة وَأَنَّهُمْ نَحَرُوا مِنْهَا وَاحِدَة يُقَالُ لَهَا الْحِنَّاءُ وَهُوَ فِي ذَلِكَ مُتَابِعٌ لِلْوَاقِدِيِّ وَقَدْ ذَكَرَهُ الْوَاقِدِيّ فِي الْمَغَازِي بِإِسْنَادٍ ضَعِيفٍ مُرْسَل .
قَوْله : ( وَأَنْ يَشْرَبُوا )
أَيْ وَأَمَرَهُمْ أَنْ يَشْرَبُوا وَلَهُ فِي رِوَايَةِ أَبِي رَجَاء " فَاخْرُجُوا فَاشْرَبُوا مِنْ أَلْبَانِهَا وَأَبْوَالهَا " بِصِيغَةِ الْأَمْرِ ، وَفِي رِوَايَةِ شُعْبَةَ عَنْ قَتَادَة " فَرَخَّصَ لَهُمْ أَنْ يَأْتُوا الصَّدَقَة فَيَشْرَبُوا " فَأَمَّا شُرْبُهُمْ أَلْبَان الصَّدَقَة فَلِأَنَّهُمْ مِنْ أَبْنَاءِ السَّبِيلِ ، وَأَمَّا شُرْبُهُمْ لَبَن لِقَاح النَّبِيّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ فَبِإِذْنِهِ الْمَذْكُورِ ، وَأَمَّا شُرْبُهُمْ الْبَوْل فَاحْتَجَّ بِهِ مَنْ قَالَ بِطَهَارَتِهِ أَمَّا مِنْ الْإِبِلِ فَبِهَذَا الْحَدِيثِ وَأَمَّا مِنْ مَأْكُولِ اللَّحْمِ فَبِالْقِيَاسِ عَلَيْهِ ، وَهَذَا قَوْل مَالِك وَأَحْمَد وَطَائِفَةٍ مِنْ السَّلَفِ وَوَافَقَهُمْ مِنْ الشَّافِعِيَّةِ اِبْن خُزَيْمَة وَابْن الْمُنْذِر وَابْن حِبَّانَ وَالْإِصْطَخْرِيُّ وَالرُّويَانِيّ ، وَذَهَبَ الشَّافِعِيّ وَالْجُمْهُورُ إِلَى الْقَوْلِ بِنَجَاسَة الْأَبْوَال وَالْأَرْوَاث كُلّهَا مِنْ مَأْكُولِ اللَّحْمِ وَغَيْره ، وَاحْتَجَّ اِبْن الْمُنْذِر لِقَوْلِهِ بِأَنَّ الْأَشْيَاءَ عَلَى الطَّهَارَةِ حَتَّى تَثْبُتَ النَّجَاسَةُ قَالَ : وَمَنْ زَعَمَ أَنَّ هَذَا خَاصٌّ بِأُولَئِكَ الْأَقْوَام لَمْ يُصِبْ إِذْ الْخَصَائِصُ لَا تَثْبُتُ إِلَّا بِدَلِيلٍ قَالَ : وَفِي تَرْكِ أَهْلِ الْعِلْمِ بَيْعَ النَّاس أَبْعَارَ الْغَنَم فِي أَسْوَاقِهِمْ وَاسْتِعْمَال أَبْوَال الْإِبِل فِي أَدْوِيَتِهِمْ قَدِيمًا وَحَدِيثًا مِنْ غَيْرِ نَكِير دَلِيل عَلَى طَهَارَتِهَا .
قُلْت : وَهُوَ اِسْتِدْلَالٌ ضَعِيفٌ ؛ لِأَنَّ الْمُخْتَلَفَ فِيهِ لَا يَجِبُ إِنْكَاره فَلَا يَدُلُّ تَرْك إِنْكَاره عَلَى جَوَازِهِ فَضْلًا عَنْ طَهَارَتِهِ ، وَقَدْ دَلَّ عَلَى نَجَاسَة الْأَبْوَال كُلّهَا حَدِيث أَبِي هُرَيْرَة الَّذِي قَدَّمْنَاهُ قَرِيبًا وَقَالَ اِبْن الْعَرَبِيِّ : تَعَلَّقَ بِهَذَا الْحَدِيثِ مَنْ قَالَ بِطَهَارَة أَبْوَال الْإِبِل وَعُورِضُوا بِأَنَّهُ أَذِنَ لَهُمْ فِي شُرْبِهَا لِلتَّدَاوِي وَتُعُقِّبَ بِأَنَّ التَّدَاوِيَ لَيْسَ حَال ضَرُورَة بِدَلِيلِ أَنَّهُ لَا يَجِبُ فَكَيْفَ يُبَاحُ الْحَرَامُ لِمَا لَا يَجِبُ ؟ وَأُجِيبَ بِمَنْعِ أَنَّهُ لَيْسَ حَالَ ضَرُورَة بَلْ هُوَ حَال ضَرُورَة إِذَا أَخْبَرَهُ بِذَلِكَ مَنْ يُعْتَمَدُ عَلَى خَبَرِهِ وَمَا أُبِيحُ لِلضَّرُورَةِ لَا يُسَمَّى حَرَامًا وَقْتَ تَنَاوُلِهِ لِقَوْلِهِ تَعَالَى ( وَقَدْ فَصَّلَ لَكُمْ مَا حَرَّمَ عَلَيْكُمْ إِلَّا مَا اضْطُرِرْتُمْ إِلَيْهِ ) فَمَا اُضْطُرَّ إِلَيْهِ الْمَرْء فَهُوَ غَيْرُ مُحَرَّمٍ عَلَيْهِ كَالْمَيْتَةِ لِلْمُضْطَرِّ وَاللَّهُ أَعْلَمُ . وَمَا تَضَمَّنَهُ كَلَامُهُ مِنْ أَنَّ الْحَرَامَ لَا يُبَاحُ إِلَّا لِأَمْرٍ وَاجِبٍ غَيْرُ مُسَلَّمٍ ، فَإِنَّ الْفِطْرَ فِي رَمَضَان حَرَام وَمَعَ ذَلِكَ فَيُبَاحُ لِأَمْرٍ جَائِز كَالسَّفَرِ مَثَلًا . وَأَمَّا قَوْلُ غَيْرِهِ لَوْ كَانَ نَجِسًا مَا جَازَ التَّدَاوِي بِهِ لِقَوْلِهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ " إِنَّ اللَّهَ لَمْ يَجْعَلْ شِفَاءَ أُمَّتِي فِيمَا حَرَّمَ عَلَيْهَا " رَوَاهُ أَبُو دَاوُد مِنْ حَدِيثِ أُمّ سَلَمَةَ وَسَتَأْتِي لَهُ طَرِيق أُخْرَى فِي الْأَشْرِبَة مِنْ هَذَا الْكِتَابِ إِنْ شَاءَ اللَّهُ تَعَالَى وَالنَّجَس حَرَام فَلَا يُتَدَاوَى بِهِ ؛ لِأَنَّهُ غَيْرُ شِفَاء فَجَوَابه أَنَّ الْحَدِيثَ مَحْمُولٌ عَلَى حَالَةِ الِاخْتِيَارِ ، وَأَمَّا فِي حَال الضَّرُورَة فَلَا يَكُونُ حَرَامًا كَالْمَيْتَةِ لِلْمُضْطَرِّ وَلَا يَرِدُ قَوْلُهُ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ فِي الْخَمْرِ " إِنَّهَا لَيْسَتْ بِدَوَاء إِنَّهَا دَاء " فِي جَوَاب مَنْ سَأَلَهُ عَنْ التَّدَاوِي بِهَا فِيمَا رَوَاهُ مُسْلِم فَإِنَّ ذَلِكَ خَاصّ بِالْخَمْرِ وَيَلْتَحِقُ بِهِ غَيْرهَا مِنْ الْمُسْكِرِ ، وَالْفَرْق بَيْنَ الْمُسْكِرِ وَبَيْنَ غَيْرِهِ مِنْ النَّجَاسَاتِ أَنَّ الْحَدَّ يَثْبُتُ بِاسْتِعْمَالِهِ فِي حَالَةِ الِاخْتِيَارِ دُونَ غَيْرِهِ ؛ وَلِأَنَّ شُرْبَهُ يَجُرُّ إِلَى مَفَاسِدَ كَثِيرَةٍ وَلِأَنَّهُمْ كَانُوا فِي الْجَاهِلِيَّةِ يَعْتَقِدُونَ أَنَّ فِي الْخَمْرِ شِفَاءً فَجَاءَ الشَّرْعُ بِخِلَافِ مُعْتَقَدِهِمْ ، قَالَهُ الطَّحَاوِيّ بِمَعْنَاهُ . وَأَمَّا أَبْوَال الْإِبِل فَقَدْ رَوَى اِبْن الْمُنْذِر عَنْ اِبْن عَبَّاس مَرْفُوعًا " أَنَّ فِي أَبْوَال الْإِبِل شِفَاءً لِلذَّرِبَةِ بُطُونُهُمْ " وَالذَّرَبُ فَسَادُ الْمَعِدَة ، فَلَا يُقَاسُ مَا ثَبَتَ أَنَّ فِيهِ دَوَاءً عَلَى مَا ثَبَتَ نَفْي الدَّوَاء عَنْهُ وَاَللَّه أَعْلَمُ . وَبِهَذِهِ الطَّرِيقَةِ يَحْصُلُ الْجَمْعُ بَيْنَ الْأَدِلَّةِ ، وَالْعَمَلُ بِمُقْتَضَاهَا كُلّهَا .
قَوْله : ( فَلَمَّا صَحُّوا )
فِي السِّيَاقِ حَذْف تَقْدِيرُهُ " فَشَرِبُوا مِنْ أَبْوَالهَا وَأَلْبَانِهَا فَلَمَّا صَحُّوا " . وَقَدْ ثَبَتَ ذَلِكَ فِي رِوَايَةِ أَبِي رَجَاء وَزَادَ فِي رِوَايَةِ وُهَيْب " وَسَمِنُوا " وَلِلْإِسْمَاعِيلِيِّ مِنْ رِوَايَةِ ثَابِت " وَرَجَعَتْ إِلَيْهِمْ أَلْوَانُهُمْ " .
)
قَوْله : ( وَاسْتَاقُوا النَّعَم )
مِنْ السَّوْقِ وَهُوَ السَّيْرُ الْعَنِيفُ .
)
قَوْله : ( فَجَاءَ الْخَبَر )
فِي رِوَايَةِ وُهَيْب عَنْ أَيُّوبَ " الصَّرِيخُ " بِالْخَاء الْمُعْجَمَةِ وَهُوَ فَعِيلٌ بِمَعْنَى فَاعِل أَيْ صَرَخَ بِالْإِعْلَامِ بِمَا وَقَعَ مِنْهُمْ ، وَهَذَا الصَّارِخ أَحَد الرَّاعِيَيْنِ كَمَا ثَبَتَ فِي صَحِيحِ أَبِي عَوَانَةَ مِنْ رِوَايَةِ مُعَاوِيَة بْن قُرَّةَ عَنْ أَنَس ، وَقَدْ أَخْرَجَ مُسْلِم إِسْنَاده وَلَفْظُهُ " فَقَتَلُوا أَحَد الرَّاعِيَيْنِ وَجَاءَ الْآخَر قَدْ جَزِعَ فَقَالَ : قَدْ قَتَلُوا صَاحِبِي وَذَهَبُوا بِالْإِبِلِ " وَاسْم رَاعِي النَّبِيّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ الْمَقْتُولِ يَسَارُ بِيَاءٍ تَحْتَانِيَّةٍ ثُمَّ مُهْمَلَة خَفِيفَة كَذَا ذَكَرَهُ اِبْن إِسْحَاق فِي الْمَغَازِي وَرَوَاهُ الطَّبَرَانِيّ مَوْصُولًا مِنْ حَدِيث سَلَمَة بْن الْأَكْوَعِ بِإِسْنَادِ صَالِحٍ قَالَ " كَانَ لِلنَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ غُلَام يُقَالُ لَهُ يَسَار " زَادَ اِبْن إِسْحَاق " أَصَابَهُ فِي غَزْوَةِ بَنِي ثَعْلَبَة " قَالَ سَلَمَة " فَرَآهُ يُحْسِنُ الصَّلَاة فَأَعْتَقَهُ وَبَعَثَهُ فِي لِقَاحٍ لَهُ بِالْحَرَّةِ فَكَانَ بِهَا " فَذَكَرَ قِصَّةَ الْعُرَنِيِّنَ وَأَنَّهُمْ قَتَلُوهُ وَلَمْ أَقِفْ عَلَى تَسْمِيَة الرَّاعِي الْآتِي بِالْخَبَرِ ، وَالظَّاهِرُ أَنَّهُ رَاعِي إِبِلِ الصَّدَقَةِ وَلَمْ تَخْتَلِفْ رِوَايَات الْبُخَارِيّ فِي أَنَّ الْمَقْتُولَ رَاعِي النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَفِي ذِكْرِهِ بِالْإِفْرَادِ ، وَكَذَا لِمُسْلِمٍ لَكِنْ عِنْدَهُ مِنْ رِوَايَةِ عَبْد الْعَزِيز بْن صُهَيْب عَنْ أَنَس " ثُمَّ

12
นี่คือคำอธิบายฮะดีษว่านท่านผู้รู้ช่วยแปลหน่อยครับผมไม่เป็นภาษาอาหรับ
6 - حَدَّثَنَا سُلَيْمَانُ بْنُ حَرْبٍ قَالَ حَدَّثَنَا حَمَّادُ بْنُ زَيْدٍ عَنْ أَيُّوبَ عَنْ أَبِي قِلَابَةَ عَنْ أَنَسِ بْنِ
مَالِكٍ قَالَ
قَدِمَ أُنَاسٌ مِنْ عُكْلٍ أَوْ عُرَيْنَةَ فَاجْتَوَوْا الْمَدِينَةَ فَأَمَرَهُمْ النَّبِيُّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ بِلِقَاحٍ وَأَنْ يَشْرَبُوا مِنْ أَبْوَالِهَا وَأَلْبَانِهَا فَانْطَلَقُوا فَلَمَّا صَحُّوا قَتَلُوا رَاعِيَ النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَاسْتَاقُوا النَّعَمَ فَجَاءَ الْخَبَرُ فِي أَوَّلِ النَّهَارِ فَبَعَثَ فِي آثَارِهِمْ فَلَمَّا ارْتَفَعَ النَّهَارُ جِيءَ بِهِمْ فَأَمَرَ فَقَطَعَ أَيْدِيَهُمْ وَأَرْجُلَهُمْ وَسُمِرَتْ أَعْيُنُهُمْ وَأُلْقُوا فِي الْحَرَّةِ يَسْتَسْقُونَ فَلَا يُسْقَوْنَ
قَالَ أَبُو قِلَابَةَ فَهَؤُلَاءِ سَرَقُوا وَقَتَلُوا وَكَفَرُوا بَعْدَ إِيمَانِهِمْ وَحَارَبُوا اللَّهَ وَرَسُولَهُ
226 - قَوْله : ( عَنْ أَيُّوبَ عَنْ أَبِي قِلَابَةَ )
كَذَا رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَتَابَعَهُ أَبُو دَاوُد عَنْ سُلَيْمَان بْن حَرْب وَكَذَا أَخْرَجَهُ أَبُو عَوَانَةَ فِي صَحِيحِهِ عَنْ أَبِي دَاوُد السِّجِسْتَانِيّ وَأَبِي دَاوُد الْحَرَّانِيِّ وَأَبُو نُعَيْمٍ فِي الْمُسْتَخْرَجِ مِنْ طَرِيقِ يُوسُفَ الْقَاضِي كُلّهمْ عَنْ سُلَيْمَانَ ، وَخَالَفَهُمْ مُسْلِم فَأَخْرَجَهُ عَنْ هَارُون بْن عَبْد اللَّه عَنْ سُلَيْمَان بْن حَرْب وَزَادَ بَيْنَ أَيُّوب وَأَبِي قِلَابَةَ أَبَا رَجَاء مَوْلَى أَبِي قِلَابَةَ ، وَكَذَا أَخْرَجَهُ أَبُو عَوَانَةَ عَنْ أَبِي أُمَيَّةَ الطَّرَسُوسِيِّ عَنْ سُلَيْمَانَ وَقَالَ الدَّارَقُطْنِيّ وَغَيْرُهُ : ثُبُوتُ أَبِي رَجَاء وَحَذْفه - فِي حَدِيثِ حَمَّاد بْن زَيْد عَنْ أَيُّوبَ - صَوَاب ؛ لِأَنَّ أَيُّوبَ حَدَّثَ بِهِ عَنْ أَبِي قِلَابَةَ بِقِصَّةِ الْعُرَنِيِّنَ خَاصَّة ، وَكَذَا رَوَاهُ أَكْثَرُ أَصْحَابِ حَمَّاد بْن زَيْد عَنْهُ مُقْتَصِرِينَ عَلَيْهَا وَحَدَّثَ بِهِ أَيُّوب أَيْضًا عَنْ أَبِي رَجَاء مَوْلَى أَبِي قِلَابَةَ عَنْ أَبِي قِلَابَةَ وَزَادَ فِيهِ قِصَّة طَوِيلَة لِأَبِي قِلَابَةَ مَعَ عُمَر بْنِ عَبْد الْعَزِيز كَمَا سَيَأْتِي ذَلِكَ فِي كِتَاب الدِّيَات وَوَافَقَهُ عَلَى ذَلِكَ حَجَّاج الصَّوَّاف عَنْ أَبِي رَجَاء فَالطَّرِيقَانِ جَمِيعًا صَحِيحَانِ وَاَللَّهُ أَعْلَمُ .
قَوْله : ( عَنْ أَنَس )
زَادَ الْأَصِيلِيّ " اِبْن مَالِك " .
قَوْله : ( قَدِمَ أُنَاس )
وَلِلْأَصِيلِيّ وَالْكُشْمِيهَنِيِّ وَاَلسَّرْخَسِيِّ " نَاس " أَيْ عَلَى رَسُولِ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ، وَصَرَّحَ بِهِ الْمُصَنِّفُ فِي الدِّيَاتِ مِنْ طَرِيقِ أَبِي رَجَاء عَنْ أَبِي قِلَابَةَ .
)
قَوْله : ( مِنْ عُكْلٍ أَوْ عُرَيْنَةَ )
الشَّكّ فِيهِ مِنْ حَمَّاد وَلِلْمُصَنِّفِ فِي الْمُحَارِبِينَ عَنْ قُتَيْبَة عَنْ حَمَّاد " أَنَّ رَهْطًا مَنْ عُكْلٍ أَوْ قَالَ مِنْ عُرَيْنَةَ وَلَا أَعْلَمُهُ إِلَّا قَالَ مَنْ عُكْلٍ " وَلَهُ فِي الْجِهَادِ عَنْ وُهَيْبٍ عَنْ أَيُّوبَ " أَنَّ رَهْطًا مَنْ عُكْلٍ " وَلَمْ يَشُكَّ وَكَذَا فِي الْمُحَارِبِينَ عَنْ يَحْيَى بْن أَبِي كَثِير وَفِي الدِّيَاتِ عَنْ أَبِي رَجَاء كِلَاهُمَا عَنْ أَبِي قِلَابَةَ وَلَهُ فِي الزَّكَاةِ عَنْ شُعْبَةَ عَنْ قَتَادَة عَنْ أَنَس " أَنَّ نَاسًا مِنْ عُرَيْنَةَ " وَلَمْ يَشُكَّ أَيْضًا وَكَذَا لِمُسْلِمٍ مِنْ رِوَايَةِ مُعَاوِيَة بْن قُرَّة عَنْ أَنَس وَفِي الْمَغَازِي عَنْ سَعِيد بْن أَبِي عَرُوبَة عَنْ قَتَادَة " أَنَّ نَاسًا مِنْ عُكْلٍ وعُرَيْنَةَ " بِالْوَاو الْعَاطِفَةِ وَهُوَ الصَّوَابُ وَيُؤَيِّدُهُ مَا رَوَاهُ أَبُو عَوَانَةَ وَالطَّبَرِيّ مِنْ طَرِيقِ سَعِيد بْن بَشِير عَنْ قَتَادَة عَنْ أَنَس قَالَ : كَانُوا أَرْبَعَةً مِنْ عُرَيْنَةَ وَثَلَاثَة مِنْ عُكْلٍ وَلَا يُخَالِفُ هَذَا مَا عِنْدَ الْمُصَنِّفِ فِي الْجِهَادِ مِنْ طَرِيقِ وُهَيْب عَنْ أَيُّوبَ وَفِي الدِّيَاتِ مِنْ طَرِيقِ حَجَّاج الصَّوَّاف عَنْ أَبِي رَجَاء كِلَاهُمَا عَنْ أَبِي قِلَابَةَ عَنْ أَنَس " أَنَّ رَهْطًا مِنْ عُكْلٍ ثَمَانِيَة " لِاحْتِمَالِ أَنْ يَكُونَ الثَّامِن مِنْ غَيْرِ الْقَبِيلَتَيْنِ وَكَانَ مِنْ أَتْبَاعِهِمْ فَلَمْ يُنْسَبْ وَغَفَلَ مَنْ نَسَبَ عِدَّتَهُمْ ثَمَانِيَة لِرِوَايَةِ أَبِي يَعْلَى وَهِيَ عِنْد الْبُخَارِيِّ وَكَذَا عِنْد مُسْلِم وَزَعَمَ اِبْنُ التِّينِ تَبَعًا لِلدَّاوُدِيِّ أَنَّ عُرَيْنَةَ هُمْ عُكْل وَهُوَ غَلَطٌ ، بَلْ هُمَا قَبِيلَتَانِ مُتَغَايِرَتَانِ : عُكْلٌ مِنْ عَدْنَان وعُرَيْنَةُ مِنْ قَحْطَانَ . وَعُكْل بِضَمِّ الْمُهْمَلَةِ وَإِسْكَان الْكَاف قَبِيلَة مِنْ تَيْمِ الرَّبَاب . وعُرَيْنَة بِالْعَيْنِ وَالرَّاءِ الْمُهْمَلَتَيْنِ وَالنُّونِ مُصَغَّرًا حَيٌّ مِنْ قُضَاعَة وَحَيٌّ مِنْ بَجِيلَة ، وَالْمُرَاد هُنَا الثَّانِي كَذَا ذَكَرَهُ مُوسَى بْن عُقْبَةَ فِي الْمَغَازِي وَكَذَا رَوَاهُ الطَّبَرِيّ مِنْ وَجْهٍ آخَرَ عَنْ أَنَس وَوَقَعَ عِنْدَ عَبْد الرَّزَّاق مِنْ حَدِيثِ أَبِي هُرَيْرَة بِإِسْنَادٍ سَاقِطٍ أَنَّهُمْ مِنْ بَنِي فَزَارَة . وَهُوَ غَلَطٌ ؛ لِأَنَّ بَنِي فَزَارَة مِنْ مُضَرَ لَا يَجْتَمِعُونَ مَعَ عُكْلٍ وَلَا مَعَ عُرَيْنَةَ أَصْلًا . وَذَكَرَ اِبْن إِسْحَاق فِي الْمَغَازِي أَنَّ قُدُومَهُمْ كَانَ بَعْدَ غَزْوَةِ ذِي قَرَدٍ وَكَانَتْ فِي جُمَادَى الْآخِرَةَ سَنَة سِتّ . وَذَكَرَهَا الْمُصَنِّفُ بَعْدَ الْحُدَيْبِيَة وَكَانَتْ فِي ذِي الْقِعْدَةِ مِنْهَا ، وَذَكَرَ الْوَاقِدِيّ أَنَّهَا كَانَتْ فِي شَوَّالٍ مِنْهَا وَتَبِعَهُ اِبْن سَعْد وَابْن حِبَّانَ وَغَيْرُهُمَا وَاَللَّهُ أَعْلَمُ . وَلِلْمُصَنِّفِ فِي الْمُحَارِبِينَ مِنْ طَرِيقِ وُهَيْب عَنْ أَيُّوبَ أَنَّهُمْ كَانُوا فِي الصُّفَّةِ قَبْلَ أَنْ يَطْلُبُوا الْخُرُوجَ إِلَى الْإِبِلِ .
قَوْله : ( فَاجْتَوَوْا الْمَدِينَة )

13
อัสสลามมูอาลัยกุม ผมเข้ามาตั้งกระทู้เพราะมีปัญหาเกิดขึ้นอันเนื่องจากได้อ่านหะดีษบางต้นของบุคอรี แล้วเกิดซึ่งความว้าวุน อาจจะเป็นเพราะไม่เข้าใจความหมายหรืออาจจะเป็นเพราะหะดีษที่ซื้อมามีแต่ความหมายสดและไม่การอรรถาธิบายดังนั้นอยากจะเรียนท่านผู้รู้โดยเฉพาะบัง al-azhary เข้ามาอธิบายหะดีษด้วยครับ พร้อมขอหลักฐานอ้างอิงหนังสือหน้า ต่างๆเพื่อเอาไว้อ้างอิงครับ
หะดีษที่ 1
حَدَّثَنَا عَمْرُو بْنُ دِينَارٍ، قَالَ سَمِعْتُ جَابِرَ بْنَ عَبْدِ اللَّهِ، يُحَدِّثُ أَنَّ رَسُولَ اللَّهِ صلى الله عليه وسلم كَانَ يَنْقُلُ مَعَهُمُ الْحِجَارَةَ لِلْكَعْبَةِ وَعَلَيْهِ إِزَارُهُ فَقَالَ لَهُ الْعَبَّاسُ عَمُّهُ يَا ابْنَ أَخِي لَوْ حَلَلْتَ إِزَارَكَ فَجَعَلْتَهُ عَلَى مَنْكِبِكَ دُونَ الْحِجَارَةِ - قَالَ - فَحَلَّهُ فَجَعَلَهُ عَلَى مَنْكِبِهِ فَسَقَطَ مَغْشِيًّا عَلَيْهِ - قَالَ - فَمَا رُؤِيَ بَعْدَ ذَلِكَ الْيَوْمِ عُرْيَانًا 
อัมร์ อิบนุ ดีนาร เล่าให้เราฟังว่า ฉันเคยได้ยิน ญาบิร อิบนุ อับดิลลาฮ์ เล่าว่า ท่านรอซูลุ้ลลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ได้เคยไปช่วยขนหินบูรณะกะอ์บะห์พร้อมกับพวกเขา (ขณะนั้นท่านยังไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนบี) โดยท่านใส่ผ้าพันรอบเอวท่านอยู่  ขณะนั้นอับบาส ลุงของท่าน ได้กล่าวกับท่านว่า โอ้หลานเอ๋ย หากเจ้าเอาผ้าของเจ้ามารองบ่าแบกหินจะดีกว่า เขาเล่าต่อไปว่า ท่านจึงได้แก้ผ้าแล้วเอามันมารองบ่าของท่าน แต่ท่านก็หมดสติล้มลงกับพื้น เขาเล่าต่อไปว่า หลังจากวันนั้นมาก็ไม่เคยเห็นท่านอยู่ในสภาพเปลือยกายอีกเลย 
ช่วยอธิบายหะดีษดังกล่าวพร้อมไขข้อข้องใจดังนี้ด้วยครับ
1.สำนวนที่ว่า "ท่านจึงได้แก้ผ้าแล้วเอามันมารองบ่าของท่าน แต่ท่านก็หมดสติล้มลงกับพื้น "
 
หะดีษที่ 2
عَنْ أَبِي قِلاَبَةَ، عَنْ أَنَسٍ، قَالَ قَدِمَ أُنَاسٌ مِنْ عُكْلٍ أَوْ عُرَيْنَةَ، فَاجْتَوَوُا الْمَدِينَةَ، فَأَمَرَهُمُ النَّبِيُّ صلى الله عليه وسلم بِلِقَاحٍ، وَأَنْ يَشْرَبُوا مِنْ أَبْوَالِهَا وَأَلْبَانِهَا، فَانْطَلَقُوا، فَلَمَّا صَحُّوا قَتَلُوا رَاعِيَ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم وَاسْتَاقُوا النَّعَمَ، فَجَاءَ الْخَبَرُ فِي أَوَّلِ النَّهَارِ، فَبَعَثَ فِي آثَارِهِمْ، فَلَمَّا ارْتَفَعَ النَّهَارُ جِيءَ بِهِمْ، فَأَمَرَ فَقَطَعَ أَيْدِيَهُمْ وَأَرْجُلَهُمْ، وَسُمِرَتْ أَعْيُنُهُمْ، وَأُلْقُوا فِي الْحَرَّةِ يَسْتَسْقُونَ فَلاَ يُسْقَوْنَ‏.‏ قَالَ أَبُو قِلاَبَةَ فَهَؤُلاَءِ سَرَقُوا وَقَتَلُوا وَكَفَرُوا بَعْدَ إِيمَانِهِمْ، وَحَارَبُوا اللَّهَ وَرَسُولَهُ‏.‏ 
อบูกิลาบะห์ รายงานจาก อนัส (บินมาลิก) ว่า คนกลุ่มหนึ่งจาก “อุกล์” หรือ “อุรอยนะห์” เดินทางมาที่นครมะดีนะห์ แต่สภาพ (อากาศและอาหาร) ของมะดีนะห์ไม่เหมาะกับพวกเขา (ทำให้พวกเขาป่วยไข้เป็นประจำ)  ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม จึงใช้ให้พวกเขาไปที่อูฐตัวเมียที่กำลังให้นม แล้วใช้ให้พวกเขาดื่มเยี่ยวและนมของมัน ดังนั้นพวกเขาจึงไปทำตามที่ท่านชี้แนะ หลังจากที่พวกเขาปฏิบัติตามและมีสุขภาพดีขึ้น พวกเขาก็ฆ่าคนเลี้ยงอูฐของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม และต้อนอูฐไปทั้งหมด ข่าวนี้มาถึงท่านนบีตอนรุ่งเช้า ท่านจึงส่งคนสะกดรอยตามพวกเขาไป จนกระทั่งตอนสายของวันนั้นพวกเขาก็ถูกจับกุมและถูกนำตัวมาหาท่านนบี, ท่านใช้ให้ตัดมือและเท้าของพวกเขา  และให้เอาเหล็กทิ่มตามของพวกเขา เสร็จแล้วให้เอาพวกเขาไปทิ้งไว้ที่ฮัรเราะห์ (ลานหินร้อนชานเมืองมะดีนะห์) เมื่อพวกเขาร้องขอน้ำดื่ม ก็ไม่ต้องให้น้ำพวกเขาอบูกิลาบะห์ กล่าวว่า คนเหล่านี้ปล้นและสังหาร (ศอฮาบะห์ของท่านรอซูล) พวกเขาเป็นผู้ปฏิเสธการศรัทธาหลังจากที่พวกเขาเคยศรัทธา พวกเขารบกับอัลลอฮ์และรอซูลของพระองค์  บุคคอรี/หมวดที่4/บทที่67/ฮะดีษเลขที่ 233
อธิบายหะดีษข้างต้นพร้อมไขข้อข้องใจดังนี้ด้วยครับ
1.การที่ท่านรอซูล ลงโทษชายดังกล่าวในสภาพที่ต้องตัดมือ ตัดเท้าพร้อมกับเอาเหล็กทิ่มตา นั้นไม่ทราบว่าท่านกระทำดังกล่าวโดยใช้ฮูกุ่มอะไรครับ แล้วอายะฮฺอัลกุรอานที่สั่งให้ลงโทษเฉกเช่นเดียวกับที่เขาทำนั้นถูกนำมาใช้ในกรณีนี้รึเปล่า
2. การลงโทษของท่านรอซูล(ศ็อลฯ)ดังกล่าว จะอธิบายด้วยหลักของเหตุและผลอย่างไร จะไม่ถูกมองว่าเป็นการทรมานที่โหดร้ายหรือปล่าวครับ (สำหรับข้อนี้เพื่ออะบายกับชาวต่างศาสนิกหากเขาได้เผอิญไปอ่านหะดีษบทดังกล่าว)

หะดีษที่3
عَنْ قَتَادَةَ، قَالَ حَدَّثَنَا أَنَسُ بْنُ مَالِكٍ، قَالَ كَانَ النَّبِيُّ صلى الله عليه وسلم يَدُورُ عَلَى نِسَائِهِ فِي السَّاعَةِ الْوَاحِدَةِ مِنَ اللَّيْلِ وَالنَّهَارِ، وَهُنَّ إِحْدَى عَشْرَةَ‏.‏ قَالَ قُلْتُ لأَنَسٍ أَوَكَانَ يُطِيقُهُ قَالَ كُنَّا نَتَحَدَّثُ أَنَّهُ أُعْطِيَ قُوَّةَ ثَلاَثِينَ‏.‏ وَقَالَ سَعِيدٌ عَنْ قَتَادَةَ إِنَّ أَنَسًا حَدَّثَهُمْ تِسْعُ نِسْوَةٍ‏ 
ก่อตาดะห์ รายงานว่า อนัส อิบนุ มาลิก เล่าให้เราฟังว่า ท่านรอซูลุ้ลลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม เคยวนไปหาบรรดาภรรยาของท่านในช่วงเวลาหนึ่งของกลางคืนหรือกลางวัน ในหมู่พวกนางทั้งหมดจำนวนสิบเอ็ดคน เขากล่าวว่า ฉันถาม อนัส อิบนุมาลิก ว่า ท่านรอซูลมีความสามารถกระทำเช่นนั้นหรือ เขาตอบว่า พวกเราพูดกันว่า ท่านได้รับพลังเท่ากับคนทั่วไปถึงสามสิบคนเลยทีเดียว สอี๊ด กล่าวว่าสายรายงานอื่นจาก ก่อตาดะห์ ว่า อนัสได้รายงานให้พวกเขาฟังว่า “ในบรรดาภรรยาของท่านเก้าคนเท่านั้น” ( ไม่ใช่สิบเอ็ดคน) บุคคอรี/หมวดที่5/บทที่12/ฮะดีษเลขที่ 268
อธิบายพร้อมไขข้อข้องใจดังนี้ด้วยครับ
1. ผมเคยอ่านเจอบางหะดีษแปลว่า ท่านรอซุลได้ไปหาภรรยาของท่านพร้อมร่วมประเวณีกับภรรยาของท่านทั้ง 9 คน ไม่ทราบว่าการแปลอย่างนั้นถูกหรือปล่าว
2. ผมมักจะกระอักกระอ่วนใจเสมอเมื่อเสวนากลับกลุ่มชีอะฮฺเขามักจะโจมตีและสร้างความหวาดระแวงแก่หะดีษของเรา โดยมักจะอ้างว่าท่านรอวูลเป็นบุคคลที่สูงส่งในแง่ของหลักจริยธรรมการกระทำดังกล่าวในรายงานหะดีษข้างต้นจะไม่เป็นการขัดต่อบุคลิกอันสูงส่งของท่านหรือและความยำเกรงของท่านหรือ และการกระทำข้างต้นจะส่อให้เราเข้าใจว่าท่านนบีนั้นชื่นชอบการร่วมประเวณีหรือไม่(นาอูซูบิลละฮฺ มินซาลิก นี่คือคำกล่าวหาของพวกชีอะฮฺที่ถูกกล่าวไว้ในหนังสือมากมายเช่น จงถามผู้รู้ "อบูฮุร็อยเราะฮฺ" ของอยู่กับผู้สัตย์จริง)

3. ตามหลักฐานของอะฮฺลิซซุนนะฮิ มีบอกรายละเอียดเรื่องการแต่งงานของท่านนบีกับท่านหญิงอาอีชะหรือไม่
เช่นท่านนบีแต่งงานกับท่านเมื่อตอนอายุกี่ขวบ และท่านอยู่ร่วมกับนางเมื่อตอนอายุกี่ขวบ ผมรู้สึกว่าประเด้นนี้กำลังถูกวิพากวิจารณ์จากกลุ่มต่อต้านอิสลามมาก แถวบ้านผมมีพวกมิชชันนารีอยู่ เขามักจะใช้ประเด็นนี้ในการสร้างความสงสัยต่อท่านนบีทุกครั้งที่มีการพบปะพูดคุยกับมุสิลม
 
ก็ฝากบังไว้แค่นี้ คิดว่าเดี๋ยวจะมาต่อโอกาสหน้า และหวังว่าบังคงอะบายให้ผมตามที่ขอ ขอเป็นละเอียดเลยนะครับ
วัสสลาม







14
อัสสลามมูอาลัยกุม ท่านผู้รู้ โดยเฉพาะคุณ al-azhary คือว่าผมได้ไปอ่านหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า "อบู ฮุรอยเราะฮฺ" เขียนโดย อับดุลฮูเซน ชาราฟุดดีน นักวิชาการชาวชีอะฮฺเลบานอนชื่อดัง คือผมนั้นมีชีวิตที่คลุกคลีกับชาวชีอะฮฺคืออยู่บ้านละแวกใกล้เคียง ซึ่งเขาก็ไม่ลดละที่จะดะวะพี่น้องซุนนีย์ของเราให้เป้นชีอะ ผมเกรงว่าสักวันจะทนไม่ไหวเพราะไม่มีความรู้และอาจจะหลงไปเป็นชีอะเหมือนกันเพื่อน จึงอยากให้ผู้รู้ทั้งหลายโดยเฉพาะคุณ al-azhary  กรุณาช่วยตอบโต้ข้อใส่ไคล้ของพวกเขาโดยเฉพาะช่วยอธิบายหะดีษเหล่านี้กรุณาช่วยอธิบายว่าแท้จริงซุนนะเข้าใจอย่างไร อย่างละเอียดพร้อมยกตำราอ้างอิงด้วยครับ บอกหน้าด้วยเพราะผมจะเอาเป็นข้อมูลตอบโต้พวกเขา หนังสือชื่อว่า "อบู ฮุรอยเราะฮฺ" จัดเป้นหนังสืออันตรายที่สุดที่ผมมองว่าเขาต้องการทำให้เราละทิ้งหะดีษของเราไปยึดของเขา ต่อไปนี้ผมจะเอาหะดีษที่เขาโจมตีมาอ้างพร้อมคำอ้างของเขา และอยากให้ท่านช่วยอธิบายด้วยครับ

1. จริงหรือไม่ที่ว่า อบูฮานีฟะและลูกศิษของท่านเคยปฏิเสธหะดีษที่รายงานจากอบูฮุรอยเราะฮฺ

2. คำวิจารณ์หะดีษ ที่ 1
" นรกจะยังไม่เต็มจนกว่า พระองค์อัลลอฮฺจะทรงวางพระบาทของพระองค์" ปรากฎในบุคอรีและมุสลิม(ผมตรวจดุแล้วว่าหะดีษเหล่านี้มีจริงแต่จำเล่มและหน้าไม่ได้)
ชาราฟุดดีนได้วิจารณ์ว่า "ดูเหมือนว่า อบูฮุรอยเราะฮฺ มีความเชื่อว่าจะไม่มีคนบาปเพียงพอที่จะบรรจุนรกให้เต็มที่ในขณะที่อัลลอฮฺ ได้ทรงตรัสไว้ในกุรอานว่า "เป็นสัจธรรมโดยแท้ และข้าจะไม่พูดสิ่งใดนอกจากสัจจะ ข้าจะบรรจุนรกให้เต็มด้วยกับพวกเจ้าและผู้ใดก็ตามที่ตามเจ้าจากมวลหมู่พวกเขาทั้งหมด"  ย่อมเห็นได้ชัดว่าในความคิดของอบูฮุรอยเราะฮฺ นั้นพระบาทของอัลลอฮฺต้องมีขนาดใหญ่ ซึ่งมันขัดกับกุรอานที่ได้ยกไปแล้วข้างต้น เหนืออื่นใด หะดีษนี้ยอมรับไม่ได้ทั้งหมดทั้งด้านสติปัญญา มุสลิมจะเชื่อหรือว่าอัลลอฮฺมีเท้า จะมีใครรับรองว่าอัลลอฮฺจะวางเท้าในนรก แล้วใครจะเชื่อว่านรกและสวรรค์โต้เถียงกันและกัน"
 กรุณาชี้แจงด้วยครับ

3.การหลับของท่านศาสดา จนทำให้พลาดนมาซ ศุบฮิ
 ในบุคอรี มุสลิม(จำหน้าไม่ได้เช่นกัน) อบูฮุรอยเราะฮิ รายงานว่า เราได้ผ่านงานเลี้ยงแต่งงานครั้งหนึ่ง พร้อมกับท่านศาสดาของอัลลอฮฺ และด้วยเหตุนี้จึงมิได้ตื่นขึ้นจนกระทั่งดวงอาทิตย์ขึ้นแล้ว จากเหตุการณ์นี้ท่านนบีกล่าวว่า "ทุกๆคนของพวกเจ้า จงเคลื่อนย้ายออกไปจากพาหะนะของเขา เพราะสถานที่นี้เป้น ที่อยู่อาศัยของชัยตอน"
ข้อวิจารณ์ ชาราฟุดดีนได้วิจารณ์ว่า หะดีษเป็นที่ยอมรับไม่ได้เพราะขัดแย้งอย่างเห็นได้ชัดจากความเป็นนบี เพราะขนาดนมาซที่ไม่ได้เป็นวาญิบอย่างนมาซตะฮัดญุด ท่านศาสดายังละหมาดจนเท้าบวมคือไม่ได้หลับนอน ดังที่กล่าวไว้ในกุรอาน (73/2,3)
ยังมีหลักฐานมากมายที่พิสูจน์ว่าหะดีษนี้ผิดและค้านกับหลักฐานเพราะ ในมุสนัด ของอิมามอะหมัดเล่ม 2 กล่าวว่า เพียงดวงตาของท่านนบีเท่านั้นที่หลับ แต่ใจของท่านไม่หลับ

4.การยกเลิกคำสั่งก่อนที่จะมีการปฏิบัติ
บุคอรีเล่ม 2  กล่าวว่า ท่านนบีกล่าวว่า"ถ้าท่านพบคนนั้นคนนี้ จงเผาเขาทั้งสองเสียด้วยไฟ " หลังจากนั้นเมื่อเราได้จัดเตรียมที่จะออกเดินทาง ท่านศาสนทูตได้กล่าวว่า "ฉันได้สั่งให้พวกเจ้าจัดการเผาศพคนนั้น แต่ไม่ควรที่ใครจะทำการลงโทษด้วยการเผา เว้นแต่ อัลลอฮฺ เพราะฉะนั้นหากเจ้าไปพบกับบุคคลสองคนนั้นจงฆ่าเขาเสีย
ข้อวิจารณ์ วจนนี้เห็นได้ชัดว่ามันไม่ถูกต้อง เพราะมันได้แสดงให้เห็นถึงการยกเลิกคำสังหนึ่งก่อนที่มันจะถูกนำไปปฏิบัติ ซึ่งเป็นไปไม่ได้สำหรับอัลลอฮฺและนบี หากว่ากันตามคุณลักษณะของนบีแล้ว ท่านจะไม่พูดสิ่งใดเว้นแต่เป็นสิ่งที่วะยูลงมาแก่ท่านไม่ใช่หรือ การยกเลิกคำสั่งหนึ่งก่อนที่จะถุกนำไปปฏิบัติย่อมเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเขลา ย่อมเป้นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้สำหรับคุณลักษณะของนบี ผู้ซึ่งได้อยู่เหนือกว่าสิ่งที่ผู้คนได้กล่าวว่าทำอย่างนั้นอย่างนี้อย่างไกลลิบ และถามว่าท่านนบีเป็นผู้เมตตามิใช่หรือ ท่านจะโหดถึงขนาดสั่งเผาคนหรือ แล้วหะดีษเหล่านี้ระบุหรือเปล่าว่าชายสองคนนั้นทำอะไรผิดจนต้องฆ่าต้องแกงกัน

5.บุคอรีเล่มสี่ กล่าวว่า ท่านนบีได้ตัดมือตัดเท้าทั้งสองของชายคนหนึ่ง แล้วได้ใช้เหล็กร้อนแทงที่ตาของเขาจนตายอย่านน่าทรมาน
ข้อวิจารร์ ท่านนบีเหมาะหรือที่ต้องทำอย่างนั้น ในเมื่อท่านได้ชื่อว่าเป็น ความเมตตาของมนุษยชาติ ทำไมท่านต้องลงโทษอย่างรุนแรงขนาดนี้ ในเมื่ออายะกุรอนก็บอกไว้แล้วว่า "จงตอบแทน(ลงโทษ)กลับ เสมือนกับที่เขาทำ" เป็นที่ชัดเจนว่าหะดีษเหล่านี้กำลังใส่ร้ายท่านศาสดาอยู่ เสมือนว่าท่านเป้นคนโหดเหี้ยม

6. ในบุคอรี ของเขาเล่ม 4 หน้า 71 และมุสลิมในเล่ม 2 หน้า 392 อบูฮุรอยเราะอิรายงานว่า ท่านนบีกล่าวว่า "โอ้อัลลอฮฺ มูฮำหมัดเป็นเพียงมนุดธรรมดาเท่านั้น  เขามีโมหะเช่นเดียวกับมนุษย์คนอื่นที่มีโมหะ ข้าพระองค์ขอทำสัญญากับพระองค์ว่า อย่าได้เป็นศัตรูกับข้าพระองค์เลย หากว่าข้าพระองคืได้หวด ตี ด่าว่า สาปแช่ง ผู้ศรัทธา ขอพระองค์ทรงอภัยให้กับเขาด้วย และขอให้มันเป็นทางหนึ่งที่จะทำให้ข้าพระองค์ใกล้ชิดพระองค์
ข้อวิจารณื เป็นการใส่ร้ายท่านนบีอย่างร้ายแรงที่สุดเกินที่จะอธิบาย ท่านนบีได้หวดตีผู้ศรัทธาที่ไม่ได้ทำอะไรผิดงั้นเหรอ
 

7. รายงานจากอะนัส บินมาลิก ใน มุสลิม เล่ม 8 บทว่าด้วยการแต่งงาน กล่าวว่าท่านนบีได้ร่วมประเวณี กับภรรยา 9 คนภายในคืนเดียว
หะดีษกำลังชี้ให้เราเห็นว่าท่านนบีนั้นเป็นคนชื่นชอบการรร่วมประเวณี และที่น่ากลัวก็คือท่านร่วมประเวณีโดยไม่ได้สนใจถึงอารมณ์ของการร่วมประเวณีเลยหรือ เป็นไปได้หรือที่ท่านนบีเคยบอกไว้ว่า ให้เราเข้าหาภรรยาอย่างช้าๆ หมายถึงค่อยๆร่วมประเวณีอย่างนุ่มนวล แต่หะดีษกลับบอกว่าท่านทำมันในคืนเดียว 9 คน เสมือนท่านทำมาอย่างไม่สนใจอารมณ์เลยหรือ แน่นอนหะดีษยอมรับไม่ได้ทั้งทางด้านเหตุผลหลักฐาน

ไว้แค่นี้ก่อนหวังว่าคุน อัลอัชฮารี คงตอบอย่างกระจ่างแล้วจะเข้ามาอีกวันหลัง
วัสสลาม

15
อัสสลามมูอาลัยกุม ท่านผู้รู้ โดยเฉพาะคุณ al-azhary คือว่าผมได้ไปอ่านหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า "อบู ฮุรอยเราะฮฺ" เขียนโดย อับดุลฮูเซน ชาราฟุดดีน นักวิชาการชาวชีอะฮฺเลบานอนชื่อดัง คือผมนั้นมีชีวิตที่คลุกคลีกับชาวชีอะฮฺคืออยู่บ้านละแวกใกล้เคียง ซึ่งเขาก็ไม่ลดละที่จะดะวะพี่น้องซุนนีย์ของเราให้เป้นชีอะ ผมเกรงว่าสักวันจะทนไม่ไหวเพราะไม่มีความรู้และอาจจะหลงไปเป็นชีอะเหมือนกันเพื่อน จึงอยากให้ผู้รู้ทั้งหลายโดยเฉพาะคุณ al-azhary  กรุณาช่วยตอบโต้ข้อใส่ไคล้ของพวกเขาโดยเฉพาะช่วยอธิบายหะดีษเหล่านี้กรุณาช่วยอธิบายว่าแท้จริงซุนนะเข้าใจอย่างไร อย่างละเอียดพร้อมยกตำราอ้างอิงด้วยครับ บอกหน้าด้วยเพราะผมจะเอาเป็นข้อมูลตอบโต้พวกเขา หนังสือชื่อว่า "อบู ฮุรอยเราะฮฺ" จัดเป้นหนังสืออันตรายที่สุดที่ผมมองว่าเขาต้องการทำให้เราละทิ้งหะดีษของเราไปยึดของเขา ต่อไปนี้ผมจะเอาหะดีษที่เขาโจมตีมาอ้างพร้อมคำอ้างของเขา และอยากให้ท่านช่วยอธิบายด้วยครับ

1. จริงหรือไม่ที่ว่า อบูฮานีฟะและลูกศิษของท่านเคยปฏิเสธหะดีษที่รายงานจากอบูฮุรอยเราะฮฺ

2. คำวิจารณ์หะดีษ ที่ 1
" นรกจะยังไม่เต็มจนกว่า พระองค์อัลลอฮฺจะทรงวางพระบาทของพระองค์" ปรากฎในบุคอรีและมุสลิม(ผมตรวจดุแล้วว่าหะดีษเหล่านี้มีจริงแต่จำเล่มและหน้าไม่ได้)
ชาราฟุดดีนได้วิจารณ์ว่า "ดูเหมือนว่า อบูฮุรอยเราะฮฺ มีความเชื่อว่าจะไม่มีคนบาปเพียงพอที่จะบรรจุนรกให้เต็มที่ในขณะที่อัลลอฮฺ ได้ทรงตรัสไว้ในกุรอานว่า "เป็นสัจธรรมโดยแท้ และข้าจะไม่พูดสิ่งใดนอกจากสัจจะ ข้าจะบรรจุนรกให้เต็มด้วยกับพวกเจ้าและผู้ใดก็ตามที่ตามเจ้าจากมวลหมู่พวกเขาทั้งหมด"  ย่อมเห็นได้ชัดว่าในความคิดของอบูฮุรอยเราะฮฺ นั้นพระบาทของอัลลอฮฺต้องมีขนาดใหญ่ ซึ่งมันขัดกับกุรอานที่ได้ยกไปแล้วข้างต้น เหนืออื่นใด หะดีษนี้ยอมรับไม่ได้ทั้งหมดทั้งด้านสติปัญญา มุสลิมจะเชื่อหรือว่าอัลลอฮฺมีเท้า จะมีใครรับรองว่าอัลลอฮฺจะวางเท้าในนรก แล้วใครจะเชื่อว่านรกและสวรรค์โต้เถียงกันและกัน"
 กรุณาชี้แจงด้วยครับ

3.การหลับของท่านศาสดา จนทำให้พลาดนมาซ ศุบฮิ
 ในบุคอรี มุสลิม(จำหน้าไม่ได้เช่นกัน) อบูฮุรอยเราะฮิ รายงานว่า เราได้ผ่านงานเลี้ยงแต่งงานครั้งหนึ่ง พร้อมกับท่านศาสดาของอัลลอฮฺ และด้วยเหตุนี้จึงมิได้ตื่นขึ้นจนกระทั่งดวงอาทิตย์ขึ้นแล้ว จากเหตุการณ์นี้ท่านนบีกล่าวว่า "ทุกๆคนของพวกเจ้า จงเคลื่อนย้ายออกไปจากพาหะนะของเขา เพราะสถานที่นี้เป้น ที่อยู่อาศัยของชัยตอน"
ข้อวิจารณ์ ชาราฟุดดีนได้วิจารณ์ว่า หะดีษเป็นที่ยอมรับไม่ได้เพราะขัดแย้งอย่างเห็นได้ชัดจากความเป็นนบี เพราะขนาดนมาซที่ไม่ได้เป็นวาญิบอย่างนมาซตะฮัดญุด ท่านศาสดายังละหมาดจนเท้าบวมคือไม่ได้หลับนอน ดังที่กล่าวไว้ในกุรอาน (73/2,3)
ยังมีหลักฐานมากมายที่พิสูจน์ว่าหะดีษนี้ผิดและค้านกับหลักฐานเพราะ ในมุสนัด ของอิมามอะหมัดเล่ม 2 กล่าวว่า เพียงดวงตาของท่านนบีเท่านั้นที่หลับ แต่ใจของท่านไม่หลับ

4.การยกเลิกคำสั่งก่อนที่จะมีการปฏิบัติ
บุคอรีเล่ม 2  กล่าวว่า ท่านนบีกล่าวว่า"ถ้าท่านพบคนนั้นคนนี้ จงเผาเขาทั้งสองเสียด้วยไฟ " หลังจากนั้นเมื่อเราได้จัดเตรียมที่จะออกเดินทาง ท่านศาสนทูตได้กล่าวว่า "ฉันได้สั่งให้พวกเจ้าจัดการเผาศพคนนั้น แต่ไม่ควรที่ใครจะทำการลงโทษด้วยการเผา เว้นแต่ อัลลอฮฺ เพราะฉะนั้นหากเจ้าไปพบกับบุคคลสองคนนั้นจงฆ่าเขาเสีย
ข้อวิจารณ์ วจนนี้เห็นได้ชัดว่ามันไม่ถูกต้อง เพราะมันได้แสดงให้เห็นถึงการยกเลิกคำสังหนึ่งก่อนที่มันจะถูกนำไปปฏิบัติ ซึ่งเป็นไปไม่ได้สำหรับอัลลอฮฺและนบี หากว่ากันตามคุณลักษณะของนบีแล้ว ท่านจะไม่พูดสิ่งใดเว้นแต่เป็นสิ่งที่วะยูลงมาแก่ท่านไม่ใช่หรือ การยกเลิกคำสั่งหนึ่งก่อนที่จะถุกนำไปปฏิบัติย่อมเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเขลา ย่อมเป้นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้สำหรับคุณลักษณะของนบี ผู้ซึ่งได้อยู่เหนือกว่าสิ่งที่ผู้คนได้กล่าวว่าทำอย่างนั้นอย่างนี้อย่างไกลลิบ และถามว่าท่านนบีเป็นผู้เมตตามิใช่หรือ ท่านจะโหดถึงขนาดสั่งเผาคนหรือ แล้วหะดีษเหล่านี้ระบุหรือเปล่าว่าชายสองคนนั้นทำอะไรผิดจนต้องฆ่าต้องแกงกัน

5.บุคอรีเล่มสี่ กล่าวว่า ท่านนบีได้ตัดมือตัดเท้าทั้งสองของชายคนหนึ่ง แล้วได้ใช้เหล็กร้อนแทงที่ตาของเขาจนตายอย่านน่าทรมาน
ข้อวิจารร์ ท่านนบีเหมาะหรือที่ต้องทำอย่างนั้น ในเมื่อท่านได้ชื่อว่าเป็น ความเมตตาของมนุษยชาติ ทำไมท่านต้องลงโทษอย่างรุนแรงขนาดนี้ ในเมื่ออายะกุรอนก็บอกไว้แล้วว่า "จงตอบแทน(ลงโทษ)กลับ เสมือนกับที่เขาทำ" เป็นที่ชัดเจนว่าหะดีษเหล่านี้กำลังใส่ร้ายท่านศาสดาอยู่ เสมือนว่าท่านเป้นคนโหดเหี้ยม

6. ในบุคอรี ของเขาเล่ม 4 หน้า 71 และมุสลิมในเล่ม 2 หน้า 392 อบูฮุรอยเราะอิรายงานว่า ท่านนบีกล่าวว่า "โอ้อัลลอฮฺ มูฮำหมัดเป็นเพียงมนุดธรรมดาเท่านั้น  เขามีโมหะเช่นเดียวกับมนุษย์คนอื่นที่มีโมหะ ข้าพระองค์ขอทำสัญญากับพระองค์ว่า อย่าได้เป็นศัตรูกับข้าพระองค์เลย หากว่าข้าพระองคืได้หวด ตี ด่าว่า สาปแช่ง ผู้ศรัทธา ขอพระองค์ทรงอภัยให้กับเขาด้วย และขอให้มันเป็นทางหนึ่งที่จะทำให้ข้าพระองค์ใกล้ชิดพระองค์
ข้อวิจารณื เป็นการใส่ร้ายท่านนบีอย่างร้ายแรงที่สุดเกินที่จะอธิบาย ท่านนบีได้หวดตีผู้ศรัทธาที่ไม่ได้ทำอะไรผิดงั้นเหรอ
 

7. รายงานจากอะนัส บินมาลิก ใน มุสลิม เล่ม 8 บทว่าด้วยการแต่งงาน กล่าวว่าท่านนบีได้ร่วมประเวณี กับภรรยา 9 คนภายในคืนเดียว
หะดีษกำลังชี้ให้เราเห็นว่าท่านนบีนั้นเป็นคนชื่นชอบการรร่วมประเวณี และที่น่ากลัวก็คือท่านร่วมประเวณีโดยไม่ได้สนใจถึงอารมณ์ของการร่วมประเวณีเลยหรือ เป็นไปได้หรือที่ท่านนบีเคยบอกไว้ว่า ให้เราเข้าหาภรรยาอย่างช้าๆ หมายถึงค่อยๆร่วมประเวณีอย่างนุ่มนวล แต่หะดีษกลับบอกว่าท่านทำมันในคืนเดียว 9 คน เสมือนท่านทำมาอย่างไม่สนใจอารมณ์เลยหรือ แน่นอนหะดีษยอมรับไม่ได้ทั้งทางด้านเหตุผลหลักฐาน

ไว้แค่นี้ก่อนหวังว่าคุน อัลอัชฮารี คงตอบอย่างกระจ่างแล้วจะเข้ามาอีกวันหลัง
วัสสลาม

หน้า: [1]