แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - DING

หน้า: [1] 2
1
Salam. apakhabar. Ibnu kasir tidak tashbih sifat Allah tidak ta'til macam mana pula nak sama dengan akidah Al- ash'ari dan akhir hayat Abu Hasan al-Ash'ari telah kembali kepada akidah ahli sunnah waljamaah iait akidah al-salaf

الإبانة على أصول الديانة

Sheikh Yusuf al-Qardawi pun wahabi juga kan?

3
تق
بل الله منا ومنكم     
 
เนื่องในวาระ วันอีฎิ้ลอัฎฮา อันประเสริฐที่จะถึงนี้

ขอให้บังๆและนักศึกษามุสลิมทั่วโลกโดยเฉพาะนักศึกษาไทยหันหน้าเข้าหากัน อภัยซึ่งกันและกันในฐานะบ่าวของอัลลอฮฺที่อ่อน และขอให้ทุ่มเท ญิฮาดในเรื่องของการศึกษาเพื่อประชาชาติตัวอย่างดังที่กล่าวในอัลกุรอาน


                                                      تقبل الله منا ومنكم صالح الأعمال
                                      ขออัลลอฮ์ทรงตอบรับการงานที่ดีจากเราและท่าน
                                 الله أكبر الله أكبر لا إله إلا الله والله أكبر  ألله أكبر ولله الحمد

4
Salam kepada saudara al-amanah yang saya hermati
 Apa yang kamu hendak mengtahui? Saya adalah exstudent mor-or Pattani. Kamu pelajar di mana? Saya sekarang pelajar master di Malaysia.

 Kita sebagai pelajar harap kaita bersama membuka minda yang luas tak patau bagi pemuda hari ini berklahian di antara satu sama lain jangan kita pakai nafsu dalam membuat apa-apa perkara dengan tidak berdasarkan ilmu yang jelas. Ini nasihat saya kepada saya sendiri dan pemuda semua hari ini. Hari ini kita nak membinakan umat bukan berkelahian.
Haraf maklum.

Saya sebagai pelajar agama saya ada banyak pensharah saya tak pernah ta assub sesiapapun tapi kalua orang mari menuduh guru kita patutkah kita diam sahaja? Macam kata orang itu ini wahabi adakah sebenar. Misalnya tak sebenar kamu pula yang berdusa.

Dalam nak menghukum orang harap di amati. Sebab kita bukan dalam alam dunia sahaja kita akan berpindah pula kealm akhirat.

Saya sebagai pelajar saya hermati semua pensyarah saya yang mengajar saya dengan cara direct atua indirect.

Bisak hari arafah mari kita sama-sama merubut peluang yang amas ini dalam beribadat dengan bersungguh-sungguh.


Selamat hari raya Aidil adha. silap salah harap maaf. Saudara kamu se Islam orang jabat Narathiwat

5


น่าสงสารคุณนะครับที่ตาบอดไม่รู้เลยหรือว่า คนที่คุณนับถือนั้นวางตัวในทัศนะใด..

ผมตาบอดตาไม่เป็นไร อย่าให้หัวใจคุณบอดก็แล้วกัน มันอันตรายกว่านะคุณพี่ อ่านกุรอานเยอะๆแล้วจะเจอ
ผมไม่ได้จบอัซฮัรแค่ เรียน มอ. ปัตตานี ผมยังรู้เลย

แล้วคุณนั้นป็นลูกศิย์ท่านดร.ที่ว่า    เพียงไหนละครับ จึงตักลีดแบบไม่รู้เรื่อง
ตักลีดของที่ดีได้ คุณอยู่ภาคไหนของประเทศไทย ถ้าอยู่ภาคอื่นไม่ต้องมาเถียงเรื่องนี้ ขอให้คุณดีก็แล้วกันตื่นซุบฮฺให้ตรงเวลาผมก็พอใจแล้วแหล่ะ ไม่ใช่ว่าต้องมีความรู้เยอะจนเอาตัวไม่รอด อย่างนี้ไม่เอา
เชค ฏอนฏอวี เชค ของมหาวิทยาลัยอัซฮัรได้กล่าวที่มหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติมเลเซียว่า
 ประชาชาติที่เจริญจะต้องมีการพัฒนาอารยธรรมของตนเอง
การกล่าวใส่ร้ายคนมั่วสั่วไม่ใช่อารยธรรมที่ดี
ผมยังชื่นชมเชคของคุณเลยและฟังเขาด้วยวันนั้น


คุณดิง ผมว่าคุณเองก็ไม่แตกต่างอะไรกับลูกศิษย์ของมุรีดคนหนึ่งแหละครับที่คอยปกป้องลูกพี่....พยายามสร้างภาพให้แนวทางตนโดดเด่น..

ผมแตกต่างกับลูกศิษย์มุรีดครับเพราะอาจารย์ ผมมีอยู่เกือบทุกประเทศ เช่น เชค บูตี ก็อาจารย์ผม มุรีดกับ ดรก็เทียบไม่ได้
แต่คนที่ดี เราต้องส่งเสริม ปกป้องในสิ่งที่ดีของเขา ของที่ผิดเราก็อย่าตามสิ
คุณเคยเรียนอาดาบต่ออุลามาอฺไหมครับ

.คุณอย่าพูดแบบเด็กอมมือเลยครับ ... ผมอมมือไม่เป็นไรหรอกครับ เพราะผมความรู้น้อย และเด็กอีกครับ แต่บังนั้นจะพูดเหมือนเด็กไร้การศึกษาก็แล้วกันชอบว่าแบบเหมา อย่าพูดเหมือนนายกทักษิณคนใต้เขาไม่ชอบ แต่บ้านคุณผมไม่รู้ อย่าใช้วาจาไม่สุภาพ
ทางใต้เขาไม่ฟัตวาสุ่มสี่สุ่มห้า
พูดอะไรนั้นต้องมีหลักฐานที่มา..ไม่ใช่ดันแบบหัวชนกำแพงมัสยิด...
ขอบคุณมากหัวชนมัสยิดจะได้ไปละหมาดบ่อยแบบยะมาอะฮฺ อย่าได้ดันแบบหัวชนกำแพงบาร์ก็แล้วกัน
การแบ่งเตาฮีดเป็น3ประเภทนั้น มีหลักฐานไม่ครับว่ามาจากไหน..ถ้าคุณรู้จริงก็บอกมาด้วยครับผมจะคอยชม
ผมบอกแล้วผม เรียนแค่ มอ. บังเรียนที่ อิยิปต์จะให้ผมตอบหรือ? หัดอ่านบ้างอย่าให้คนอื่นตอบบ่อยๆ ร

6
ชัยค์ อิสมาอีล สะปแย  เป็นคนที่สุขุมมาก ใจดีและท่มเทเวลาในงานสอนเป็นอย่างมาก เสียงท่านเพราะ
แถมยังเป็นเพื่อนกับ ดร.ใน อิสมาแอล ด้วย ในการให้คำชี้ขาดเกี่ยวกับ หนังสือ ญิฮาดที่ปัตตานี พร้อมกับบรรดานักวิชาการคนอื่นๆ และเคยนั่ง เครื่องบินพร้อมกับ ดร. ไปกรุงเทพ และได้คุยอะไรมากมาย

 ปราบปลื้มจริง ๆกับอุลามาอฺทางใต้ ถึงแม้ความคิด ความอ่านเหมือกัน แต่ให้เกียรติซึ่งกันและกัน

 ข้อมูลนี้ท่าน ดร. เป็นคนบอกเองครับ

สำหรับผมแล้ว ชัยค์ อิสมาอีล สะปแย ก็คือ อาจารย์ของผม และ ดร. ก็คือ อาจารย์ของผม

7
ในอีดฟิตริที่ผ่านมา สำนักจุฬาแผ่อำนาจสำเร็จ เมื่อทางสายซุนนะฮฺภาคใต้ ดร.อิสมาแอล ลุตฟี ถูกบีบต้องประกาศอีดตามจุฬา
(ซึ่งถ้าแอบกระซิบถาม ท่านก็จะบอกว่าไม่ถูกต้อง)


 ขอบคุณครับ บัง อัซฮารี ที่ถามผม
ส่วนตัว ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลที่จะไปสู่ฟิตนะฮฺ เป็นข้อมูลที่ไม่ควรนำมากล่าวอ้าง เนื่องจากส่อไปในสิ่งที่ไม่ดี

ผมในฐานะคนหนึ่งที่ใกล้ชิดท่าน ดร.และเป็นลูกศิษย์ของท่านประจำวันอาทิตย์ ฟังเขาสอนทุกวันอาทิตย์ผ่านรายการวิทยุร่วมด้วยช่วยกันของ 3จังหวัดชายแดนใต้ที่ถ่ายถอดสดทั้ง 3 จังหวัด
อีดแต่ละปีของท่านก็จะตามมัจลิสอิสลามของ 3 จังหวัด เขาไม่เคยที่จะออกก่อน เท่าที่ผมรู้ เพราะสิ่งเหล่านั้นเป็นปัญหาคิลาฟ
ผมบอกบังและในเว็บนี้หลายครั้งแล้วว่าทางใต้ตอนนี้ถึงแม้จะมีกลุ่มที่แตกต่างกันเขาส่วนใหญ่จะไม่ทะเลาะกันแล้ว. เราต้องการแก้ปัญหาที่สำคัญกว่าไม่ใช่มาทะเลาะเรื่องขี้เป็ดขี้ไก่หรอกครับ เรามีจุดยืนในการทำงาน เพราะเรามาจากครอบครัวตระกูลเดียวกันจะไปทะเลาะกันทำไม
สำหรับปีนี้ ทางใต้ส่วนมากแล้ว ทั้งเก่าและใหม่ เขาต้องการถือศิลอดตามวันอะรอฟะฮฺ

คุณสามารถไปถามคนแก่ในพื้นที่ได้

ทางเราให้เกียรติจุฬา สังเกตุได้จากท่านจุฬาได้รับปริญญาดุษฎีบัฑิดด้านกฎหมายอิสลาม จากวิทยายาลัยอิสลามยะลา

ขอให้บังมีความสุขกับวันอีดและฝากสลามถึงนักศึกษาอิยิปต์ทุกท่าน อินชาอัลลอฮฺผมจะส่งอิเมลไปให้บังนะคับ


8
สลามถึงคนอยากรู้
ผมว่าชื่อคุณน่าจะเปลี่ยนเป็นคนอยากปะทะ มากกว่านะครับ
ก่อนอื่นก็ขอมาอาฟและขอให้คุณมีความสุขในวันอีดนี้

 ผมขอเตือนคุณอย่างเดียวนะครับจะว่าใครเป็นวะฮาบีย์นั้นขอแสดงหลักฐานด้วย โดยเฉพาะกล่าวหาท่าน ดร.อิสมาแอล ลุตฟีย์
เพราะทางใต้ตอนนี้เขาไม่ว่ากันเรื่องแบบนี้แล้วครับคุณ เขาต้องการสร้างประชาชาติกัน ยกเว้นคนที่ตาบอดหัวใจมันอยากที่จะเปลี่ยนแปลง ชอบว่าคนเรื่อยเปื่อย ไม่สมเป็นกับนักศึกษา

 ผมอยากถามคุณ
 ปอเนาะที่นำเอากิตาบเตาฮีดมาสอนใน 3 จังหวัดภาคใต้ ที่ผมรู้ปอเนาะพ่อเม่งเป็นปอเนาะแรก อาจารย์ผมบอกเขาเป็นศิษย์ที่นั้นตอนนี้สอนที่ มอ. ซึ่งเป็นปอเนาะเก่าแก่ทางภาคใต้
แล้วทำไมเขาไม่ว่าปอเนาะนั้นเป็นวาฮาบีย์เล่า ช่วยบอกหน่อย

 เอกสารการนำเสนอของ ดร. ส่วนมากเป็นของมัสฮับชาฟิอีย์ ไม่มีคำพูดของ มุหัมมัด บิน อับดุลวาฮาบ แล้วจะเป็นวะฮาบีย์ได้อย่างไร หนังสือในโลกนี้มีมากไม่จำเป็นที่จะต้องตามวะฮาบีย์ก็ได้

  สุดท้ายขอให้คุณอย่าว่าคนสุ่มสี่สุ่มห้า บาบอปอเนาะดังๆ ในภาคใต้เขาดีกับ ดร.ทั้งนั้นเพราะ ดร. เป็นลูกศิษย์ของเขา และเพื่อน และไปมาหาสู่กัน เขาไม่ทะเลาะเหมือนกรุงเทพหรอก

  คุณหัดตอบเหมือนคนมีการศึกษาหน่อย อย่าเหมือนของยุควลีด อิบนุ มุฆีเราะห์ นะครับ ฝากด้วย


 คุณอายุกี่ปีแล้วครับ บุคลิกภาพของคุณเป็นคนดีแล้วหรือยัง คุณลุกขึ้นละหมาดตะฮายุดทุกคืนไหมฦ อ่านกุรอาน 1 ยุซทุกวันไหมฦ

9
ต่อจากเดิม

9. أَصْبَحْنَا وَأَصْبَحَ (أَمْسَيْنَا وَأَمْسَى) اْلْمُلْكُ للهِ، وَالْحَمْدُ للهِ لاَ شَرِيْكَ لَهُ، لاَ إِلَهَ إِلاَّ هُوَ وَإِلَيْهِ النُّشُوْرُ (الْمَصِيْرُ)

9. พวกเรามีชีวิตอยู่ในเช้านี้ (ค่ำคืนนี้) โดยอำนาจการปกครองเป็นของอัลลอฮฺ และมวลการสรรเสริญเป็นเอกสิทธิ์ของพระองค์ โดยปราศจากการตั้งภาคีใดๆสำหรับพระองค์ ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ และยังพระองค์เราจะกลับคืนสู่

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะอ่านทุกๆเวลาเช้าและเวลาเย็น (หะสัน, อัลบุคอรีย์ในอะดับอัลมุฟร็อด, เลขที่ 604, อัลบัซซาร-มัจญ์มะอฺอัซซะวาอิด, เล่ม 10 หน้า 114, อิบนุสสุนนีย์, เลขที่ 82)]

10. أَصْبَحْنَا وَأَصْبَحَ (أَمْسَيْنَا وَأَمْسَى) الْمُلْكُ للهِ وَالْحَمْدُ للهِ، لاَ إِلَهَ إِلاَّ اللهُ وَحْدَهُ لاَ شَرِيْكَ لَهُ، لَهُ الْمُلْكُ وَلَهُ الْحَمْدُ، وَهُوَ عَلَى كُلِّ شَيْءٍ قَدِيْرٌ. رَبِّ أَسْأَلُكَ خَيْرَ مَا فِي هَذَا الْيَوْمِ (هَذِهِ اللَّيْلَةِ) وَخَيْرَ مَا بَعْدَهُ (بَعْدَهَا)، وَأَعُوْذُ بِكَ مِنْ شَرِّ مَا فِي هَذَا الْيَوْمِ (هَذِهِ اللَّيْلَةِ) وَشَرِّ مَا بَعْدَهُ (بَعْدَهَا). رَبِّ أَعُوْذُ بِكَ مِنَ الْكَسَلِ وَسُوْءِ الْكِبَرِ، رَبِّ أَعُوْذُ بِكَ مِنْ عَذَابِ النَّارِ وَعَذَابِ الْقَبْرِ

10. พวกเรามีชีวิตอยู่ในเช้านี้ (ค่ำคืนนี้) โดยที่อำนาจการปกครองเป็นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ และมวลการสรรเสริญเป็นเอกสิทธิ์ของพระองค์ ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺแต่เพียงผู้เดียว โดยปราศจากภาคีใดๆสำหรับพระองค์ อำนาจการปกครองเป็นกรรมสิทธิ์ของพระองค์ มวลการสรรเสริญเป็นของพระองค์ พระองค์ทรงอำนาจเหนือสรรพสิ่งทั้งมวล โอ้พระผู้อภิบาลของฉัน ฉันวิงวอนขอต่อพระองค์โปรดประทานความดีที่มีอยู่ในวันนี้ (ค่ำคืนนี้) และความดีหลังจากนั้น แก่ฉัน และฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากความชั่วร้ายของวันนี้ (ค่ำคืนนี้) และความชั่วร้ายหลังจากนั้น โอ้พระผู้อภิบาลของฉัน ฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากความเกียจคร้าน และความเลวร้ายของความแก่ชรา โอ้พระผู้อภิบาลของฉัน ฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากการทรมาน (การลงโทษ) ในนรกและการทรมาน (การลงโทษ) ในหลุมศพ

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะอ่านทุกๆเวลาเช้าและเวลาเย็น (เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 2723)]

11. أَصْبَحْنَا (أَمْسَيْنَا) عَلَى فِطْرَةِ الإِسْلاَمِ، وَكَلِمَةِ الإِخْلاَصِ، وَدِيْنِ نَبِيِّنَا مُحَمَّدٍ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ، وَمِلَّةِ أَبِيْنَا إِبْرَاهِيْمَ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ حَنِيْفًا مُسْلِمًا وَمَا كَانَ مِنَ اْلمُشْرِكِيْنَ

11. เรามีชีวิตอยู่ในเช้านี้ (ค่ำคืนนี้) บนศาสนาอิสลาม และบนถ้อยคำที่บริสุทธิ์ (คำปฏิญาณตน ลาอิลาฮะอิลลัลลอฮฺ มุหัมมัด เราะศุลุลลอฮฺ) และบนศาสนาของนบีของพวกเรา มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และบนศาสนาของบิดาของพวกเรา นบีอิบรอฮีม ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ผู้ที่ยึดมั่นอยู่บนแนวทางที่เที่ยงตรงและยอมจำนนเสมอ และเขาไม่ใช่คนหนึ่งจากบรรดาผู้ที่ตั้งภาคี

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะอ่านทุกๆเวลาเช้าและเวลาเย็น (เศาะหีหฺ, อะหมัด, เล่ม 3 หน้า 406, อันนะสาอีย์ในอะมัล อัลเยาม์ วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 1,2,3,343, อิบนุสสุนนีย์, เลขที่ 34, อัดดาริมีย์, เล่ม 2 หน้า 292)]

12. أَصْبَحْنَا وَأَصْبَحَ (أَمْسَيْنَا وَأَمْسَى) اْلمُلْكُ للهِ رَبِّ الْعَالَمِيْنَ، اَللَّهُمَّ إِنِّي أَسْأَلُكَ خَيْرَ هَذَا الْيَوْمِ، فَتْحَهُ وَنَصْرَهُ وَنُوْرَهُ وَبَرَكَتَهُ وَهُدَاهُ (هَذِهِ اللَّيْلَةِ، فَتْحَهَا وَنَصْرَهَا وَنُوْرَهَا وَبَرَكَتَهَا وَهُدَاهَا)، وَأَعُوْذُ بِكَ مِنْ شَرِّ مَا فِيْهِ (فِيْهَا) وَشَرِّ مَا بَعْدَهُ (بَعْدَهَا)

13. พวกเราได้มีชีวิตอยู่ในเช้านี้ (ค่ำคืนนี้) โดยที่อำนาจการปกครองเป็นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ พระผู้ทรงอภิบาลแห่งสากลโลก โอ้อัลลอฮฺ แท้จริงฉันขอวิงวอนต่อพระองค์ซึ่งความดี ชัยชนะ ความช่วยเหลือ รัศมี สิริมงคล และทางนำของวันนี้ (ค่ำคืนนี้) และฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากความชั่วร้ายในวันนี้ (คืนนี้) และหลังจากนั้น

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?เมื่อผู้ใดในหมู่พวกเจ้าอยู่ในยามเช้า เขาจงกล่าวดุอาอฺนี้ และเมื่อถึงเวลาเย็นก็ให้อ่านดุอาอฺนี้เช่นเดียวกัน? (หะสัน, อบูดาวูด, เลขที่ 5084)]

13. اَللَّهُمَ فَاطِرَ السَّمَوَاتِ وَالأَرْضِ، عَالِمَ الْغَيْبِ وَالشَهَادَةِ، رَبَّ كُلِّ شَيْءٍ وَمَلِيْكَهُ، أَشْهَدُ أَنْ لاَ إِلَهَ إِلاَّ أَنْتَ، أَعُوْذُ بِكَ مِنْ شَرِّ نَفْسِيْ وَشَرِّ الشَّيْطَانِ وَشِرْكِهِ، وَأَنْ أَقْتَرِفَ عَلَى نَفْسِيْ سُوْءً، أَوْ أَجُرَّهُ إِلَى مُسْلِمٍ

13. โอ้อัลลอฮฺ ผู้ทรงรอบรู้ในสิ่งที่ซ่อนเร้นและเปิดเผย ผู้ทรงสร้างชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดิน โอ้พระผู้อภิบาลและครอบครองแห่งสรรพสิ่งทั้งมวล ฉันขอปฏิญาณตนว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ ฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากความชั่วร้ายของตัวฉันเอง และจากความชั่วร้ายของชัยฏอนและสมุนของมัน และฉันขอความคุ้มครองจากความชั่วที่ฉันกระทำต่อตัวเอง หรือกระทำต่อมุสลิมคนอื่น

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้สอนท่านอบูบักรฺให้อ่านดุอาอฺข้างต้น ทุกเช้าเย็นและก่อนนอน (เศาะหีหฺ, อิบนุอบีชัยบะฮฺ, เล่ม 10 หน้า 237, อะหมัด, เล่ม 1 หน้า 9, อัลบุคอรีย์ในอะดับอัลมุฟร็อด, เลขที่ 1202, อบูดาวูด, เลขที่ 5067, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3392)]

14. رَضِيِتُ بِاللهِ رَبًّا، وَبِالإِسْلاَمِ دِيْنًا، وَبِمُحَمَّدٍ رَسُوْلاً (3 ครั้ง)

14. ฉันพอใจกับการเป็นพระผู้อภิบาลของอัลลอฮฺ การเป็นศาสนาของอิสลาม และการเป็นศาสนทูตของนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมันในยามเช้าและยามเย็น จำนวนสามครั้ง ย่อมเป็นสิทธิของอัลลอฮฺที่จะประทานความโปรดปรานแก่เขาในวันกิยามะฮฺ (หะสัน, อะหมัด, เล่ม 4 หน้า 337, อบูดาวูด, เลขที่ 5072, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3389, อิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 3870)]

15. سُبْحَانَ اللهٍ وَبِحَمْدِهِ، عَدَدَ خَلْقِهِ، وَرِضَا نَفْسِهِ، وَزِنَةَ عَرْشِهِ، وَمِدَادَ كَلِمَاتِهِ (3 ครั้ง)

15. มหาบริสุทธิ์แด่อัลลอฮฺ และด้วยการสรรเสริญสดุดีต่อพระองค์ (ที่มากมาย) ตามจำนวนสรรพสิ่งทั้งหลายที่พระองค์ทรงสร้างมา ตามความพึงพอใจของพระองค์ ตามน้ำหนักอารัช (บัลลังก์) ของพระองค์ และตามจำนวนน้ำหมึกแห่งพระพจนารถของพระองค์

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้กล่าวแก่ท่านหญิงญุวัยริยะฮฺว่า ?ฉันได้อ่านมันจำนวนสามครั้ง ถ้าเธอนำมันมาชั่งกับสิ่งที่เธอได้อ่านมาตั้งแต่เช้า เธอจะพบว่ามันมีค่าเท่ากัน? (เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 6851)]

16. بِسْمِ اللهِ الَّذِي لاَ يَضُرُّ مَعَ اسْمِهِ شَيْءٌ فِي اْلأَرْضِ وَلاَ فِي السَّمَاءِ وَهُوَ السَّمِيْعُ الْعَلِيْمُ (3 ครั้ง)

16. ด้วยพระนามของอัลลอฮฺ ผู้ซึ่งไม่มีสิ่งใดๆบนพื้นแผ่นดินและชั้นฟ้าสามารถให้โทษพร้อมกับพระนามของพระองค์ได้ และพระองค์เป็นผู้ทรงได้ยิน ทรงรอบรู้ยิ่ง

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมันจำนวนสามครั้งทุกเช้าเย็น เขาจะไม่ได้รับอันตรายจากสิ่งใดๆ หรือจะไม่ถูกบะลาอฺ (ภัยพิบัติ) ชนิดที่ไม่ทันตั้งตัว (เศาะหีหฺ, อะหมัด, เล่ม 1 หน้า 62, อัลบุคอรีย์ในอะดับอัลมุฟร็อด, เลขที่ 660, อบูดาวูด, เลขที่ 5088, 5089, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3388, อิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 3869)]

17. أَعُوْذُ بِكَلِمَاتِ اللهِ التَّامَّاتِ مِنْ شَرِّ مَا خَلَقَ (3 ครั้ง)

17. ฉันขอความคุ้มครองด้วยพระพจนารถแห่งอัลลอฮฺที่สมบูรณ์ยิ่ง (ให้ปลอดภัย) จากความชั่วร้ายของสิ่งต่างๆที่พระองค์ทรงสร้าง

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมันในช่วงเย็นจำนวนสามครั้ง เขาจะไม่ได้รับอันตรายจากพิษงู (และตะขาบ) ในคืนนั้น จนกระทั่งรุ่งเช้า? (เศาะหีหฺ, มุวัตเฏาะอฺมาลิก, เล่ม 2 หน้า 952, มุสลิม, เลขที่ 2709, อบูดาวูด, เลขที่ 3898, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3600, อิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 3518, อิบนุหิบบาน, เลขที่ 1018, อัลหากิม, เล่ม 4 หน้า 416)]

18. اَللَّهُمَّ عَافِنِي فِي بَدَنِي، اَللَّهُمَّ عَافِنِي فِي سَمْعِي، اَللَّهُمَّ عَافِنِي فِي بَصَرِي لاَ إِلَهَ إِلاَّ أَنْتَ، اَللَّهُمَّ إِنِّي أَعُوْذُ بِكَ مِنَ الْكُفْرِ وَالْفَقْرِ، اَللَّهُمَّ إِنِّي أَعُوْذُ بِكَ مِنْ عَذَابِ الْقَبْرِ، لاَ إِلَهَ إِلاَّ أَنْتَ (3 ครั้ง)

18. โอ้อัลลอฮฺ ขอได้โปรดประทานพลานามัยที่ดีแก่เรือนร่างของฉัน โอ้อัลลอฮฺ ขอได้โปรดประทานพลานามัยที่ดีแก่การฟังของฉัน โอ้อัลลอฮฺ ขอได้โปรดประทานพลานามัยที่ดีแก่การมองเห็นของฉัน ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ โอ้อัลลอฮฺ แท้จริงฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากการฝ่าฝืนและความยากจน และฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากจากการลงโทษในหลุมศพ ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะขอดุอาอฺกับดุอาอฺนี้ทุกๆเช้าและเย็น และท่านจะทวนมันจนครบสามครั้ง (หะสัน, อะหมัด, เล่ม 2 หน้า 42, อัลบุคอรีย์ในอะดับอัลมุฟร็อด, เลขที่ 701, อบูดาวูด, เลขที่ 5090, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 22, อิบนุสสุนนีย์, เลขที่ 69)]

19. اَللَّهُمَّ إِنِّي أَسْأَلُكَ الْعَفْوَ وَالْعَافِيَةَ فِي الدُّنْيَا وَالآخِرَةِ، اَللَّهُمَّ إِنِّي أَسْأَلُكَ الْعَفْوَ وَالْعَافِيَةَ فِي دِيْنِي وَدُنْيَايَ وَأَهْلِي وَمَالِي، اَللَّهُمَّ اسْتُرْ عَوْرَاتِي، وَآمِنْ رَوْعَاتِي، اَللَّهُمَ احْفَظْنِي مِنْ بَيْنِ يَدَيَّ، وَمِنْ خَلْفِي، وَعَنْ يَمِيْنِي، وَعَنْ شِمَالِي، وَمِنْ فَوْقِي، وَأَعُوْذُ بِعَظَمَتِكَ أَنْ أُغْتَالَ مِنْ تَحْتِي

19. โอ้อัลลอฮฺ แท้จริงฉันขอวิงวอนต่อพระองค์ได้โปรดประทานอภัยและความปลอดภัย (แก่ฉัน) ทั้งในโลกดุนยาและอาคิเราะฮฺ โอ้อัลลอฮฺ แท้จริงฉันขอวิงวอนต่อพระองค์โปรดประทานอภัยและความปลอดภัยในศาสนาของฉัน โลกดุนยาของฉัน ครอบครัวของฉัน และทรัพย์สินของฉัน โอ้อัลลอฮฺ ขอได้โปรดปกปิดเอาเราะฮฺ (สิ่งที่บกพร่องในตัวฉันและความลับที่ผู้อื่นไม่ควรรู้เห็น) ของฉัน และขอได้โปรดประทานความสงบเยือกเย็นในใจของฉัน โอ้อัลลอฮฺ ขอได้โปรดคุ้มครองฉันจาก (ความชั่วร้ายที่อยู่) เบื้องหน้าของฉัน เบื้องหลังของฉัน เบื้องขวาของฉัน เบื้องซ้ายของฉัน และเบื้องบนของฉัน และฉันขอความคุ้มครองด้วยความยิ่งใหญ่ของพระองค์จากการถูกจู่โจมจากเบื้องล่างของฉัน

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมไม่เคยละเลยที่จะอ่านดุอาอฺนี้ทุกๆเช้าและเย็น (เศาะหีหฺ, อบูดาวูด, เลขที่ 5074, อิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 3871, อัลหากิม, เล่ม 1 หน้า 517, อิบนุหิบบาน, เลขที่ 961)]

20. يَا حَيُّ يَا قَيُّوْمُ، بِكَ أَسْتَغِيْثُ فَأَصْلِحْ لِي شَأْنِي كُلِّهِ، وَلاَ تَكِلْنِي إِلَى نَفْسِي طَرْفَةَ عَيْنٍ

20. โอ้ผู้ทรงชีวิน ผู้ทรงดำรงอยู่ด้วยพระองค์เอง ด้วยพระองค์เท่านั้นที่ฉันวิงวอนขอความช่วยเหลือ ดังนั้นขอพระองค์โปรดปรับปรุงกิจการต่างๆของฉันให้ดีขึ้นด้วย และโปรดอย่าได้ทอดทิ้งหรือปล่อยวางให้เป็นภาระแก่ตัวฉันเพียงลำพัง (โดยไม่ได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือจากพระองค์) แม้เพียงกระพริบตาเดียว

[ท่านรสูลุลลอฮฺศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้สั่งกำชับให้บุตรีของท่าน (ท่านหญิงฟาติมะฮฺ) อ่านดุอาอฺนี้ทุกๆเช้าและเย็น (หะสัน, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 570, อิบนุสสุนนีย์, เลขที่ 48, อัลบัซซาร-กัชฟุลอัสตาร, เลขที่ 3107, อัลหากิม, เล่ม 1 หน้า 545)]

21. اَللَّهُمَّ أَنْتَ رَبِّي، لاَ إِلَهَ إِلاَّ أَنْتَ، خَلَقْتَنِي وَأَنَا عَبْدُكَ وَأَنَا عَلَى عَهْدِكَ وَوَعْدِكَ مَا اسْتَطَعْتُ، أَعُوْذُ بِكَ مِنْ شَرِّ مَا صَنَعْتُ، أَبُوْءُ لَكَ بِنِعْمَتِكَ عَلَيَّ، وَأَبُوْءُ بِذَنْبِي فَاغْفِرْلِي فَإِنَّهُ لاَ يَغْفِرُ الذُّنُوْبَ إِلاَّ أَنْتَ

21. โอ้อัลลอฮฺ พระองค์คือพระผู้อภิบาลของฉัน ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ พระองค์ได้ทรงสร้างฉัน และฉันคือบ่าวของพระองค์ ฉันยังคงตั้งมั่นในพันธะสัญญาของพระองค์จนสุดความสามารถของฉัน ฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากความชั่วร้ายที่ฉันได้กระทำไว้ ฉันขอยอมรับในความโปรดปรานของพระองค์ที่มีต่อตัวฉัน และขอยอมรับในความผิดบาปของฉัน (ที่ได้กระทำไว้) ดังนั้น ขอได้โปรดประทานอภัยแก่ฉัน เพราะแท้จริงไม่มีผู้ใดสามารถประทานอภัยในบาปต่างๆได้นอกพระองค์

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านดุอาอฺสัยยิดุลอิสติฆฟาร (ผู้นำแห่งการขออภัยโทษ) นี้ ในเวลากลางวัน (ช่วงเช้า) ด้วยเปี่ยมศรัทธา แล้วเขาได้เสียชีวิตลงก่อนถึงเวลาเย็น เขาจะเป็นหนึ่งในบรรดาชาวสวรรค์ และผู้ใดอ่านดุอาอฺนี้ในเวลากลางคืน (ช่วงเย็น) ด้วยเปี่ยมศรัทธา แล้วเขาได้เสียชีวิตลงก่อนถึงเวลาเช้า เขาจะเป็นหนึ่งในบรรดาชาวสวรรค์เช่นเดียวกัน? (เศาะหีหฺอัลบุคอรีย์, เลขที่ 6306, อันนะสาอีย์, เลขที่ 5524, อบูดาวูด, เลขที่ 5070, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3453)]

22. اَللَّهُمَّ صَلِّ عَلَى مُحَمَّدٍ، وَعَلَى آلِ مُحَمَّدٍ، كَمَا صَلَّيْتَ عَلَى إِبْرَاهِيْمَ، وَعَلَى آلِ إِبْرَاهِيْمَ، إِنَّكَ حَمِيْدٌ مَجِيْدٌ، اَللَّهُمَّ بَارِكْ عَلَى مُحَمَّدٍ، وَعَلَى آلِ مُحَمَّدٍ، كَمَا بَارَكْتَ عَلَى إِبْرَاهِيْمَ، وَعَلَى آلِ إِبْرَاهِيْمَ، إِنَّكَ حَمِيْدٌ مَجِيْدٌ (10 ครั้ง)

22. โอ้อัลลอฮฺ ได้โปรดทรงประทานเศาะละวาต (การสดุดี) ให้แก่มุหัมมัดและวงศ์วานของมุหัมมัด เสมือนกับที่พระองค์ได้ทรงประทานเศาะละวาตให้แก่อิบรอฮีมและวงศ์วานของอิบรอฮีม แท้จริงพระองค์คือผู้ทรงได้รับการสรรเสริญยิ่ง ผู้ทรงบารมียิ่ง โอ้อัลลอฮฺ ได้โปรดทรงประทานความบะเราะกัต (ความจำเริญ) ให้แก่มุหัมมัดและวงศ์วานของมุหัมมัด เสมือนกับที่พระองค์ได้ทรงประทานความบะเราะกัตให้แก่อิบรอฮีมและวงศ์วานของอิบรอฮีม แท้จริงพระองค์คือผู้ทรงได้รับการสรรเสริญยิ่ง ผู้ทรงบารมียิ่ง

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดกล่าวเศาะละวาตให้แก่ฉันจำนวนสิบครั้งในช่วงเช้าและช่วงเย็น เขาจะได้รับการชะฟาอะฮฺ (ความช่วยเหลือ) จากฉันในวันกิยามะฮฺ (หะสัน, อัตเฏาะบะรอนีย์-มัจญ์มะอฺอัซซะวาอิด, เล่ม 10 หน้า 120, และดูสำนวนการเศาะละวาตในเศาะหีหฺอัลบุคอรีย์, เลขที่ 3370)]

23. سُبْحَانَ اللهِ وَبِحَمْدِهِ (100 ครั้ง)

23. มหาบริสุทธิ์ยิ่งแด่อัลลอฮฺ และด้วยการสรรเสริญสดุดีต่อพระองค์

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมันในยามเช้าและเย็นจำนวน 100 ครั้ง ย่อมไม่มีผู้ใดในวันกิยามะฮฺที่จะประเสริฐกว่าเขา นอกจากผู้ที่อ่านเช่นเดียวกับเขาหรือมากกว่านั้น? (เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 2691, อบูดาวุด, เลขที่ 5091, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3469) และในรายงานของอัลบุคอรีย์ (ฟัตหุลบารีย์, เล่ม 11 หน้า 206) ระบุว่า ?บาปต่างๆจะหลุดร่วงออกจากตัวเขา ถึงแม้ว่าจะมีมากมายเสมือนดั่งฟองน้ำในทะเลก็ตาม?]

24. لاَ إِلَهَ إِلاَّ اللهُ وَحْدَهُ لاَ شَرِيْكَ لَهُ، لَهُ الْمُلْكُ وَلَهُ الْحَمْدُ، وَهُوَ عَلَى كُلِّ شَيْءِ قَدِيْرٌ (1 ครั้ง * หรือ10 ครั้ง ** หรือ 100 ครั้ง ***)

24. ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺแต่เพียงพระองค์เดียว ไม่มีภาคีใดสำหรับพระองค์ อำนาจการปกครองและมวลการสรรเสริญเป็นเอกสิทธิ์ของพระองค์ และพระองค์ทรงอำนาจเหนือสรรพสิ่งทั้งมวล

[* ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมันในยามเช้า เขาจะได้รับผลบุญเท่ากับการปลดปล่อยทาสจากลูกหลานของนบีอิสมาอีลหนึ่งคน จะได้รับการบันทึกจำนวนสิบผลบุญ จะได้รับการลบล้างจำนวนสิบความชั่ว จะได้รับการยกสถานะขึ้นสิบสถานะ และเขาจะได้รับการคุ้มครองจาก (การหลอกล่อของ) ชัยฏอนจนกระทั่งเย็น และหากเขาอ่านมันในยามเย็น เขาก็จะได้รับการตอบแทนเช่นเดียวกัน จนกระทั่งรุ่งเช้า (เศาะหีหฺ, อะหมัด, เล่ม 4 หน้า 60, อบูดาวูด, เลขที่ 5077, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 27, อิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 3867)]

[**ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมันในยามเช้าและเย็นจำนวน 10 ครั้ง อัลลอฮฺจะทรงบันทึกสำหรับเขา 10 ความดี และลบล้าง 10 ความชั่ว และเขาจะได้รับผลบุญเท่ากับการปลดปล่อยทาสจำนวน 10 คน และอัลลอฮฺจะทรงคุ้มครองเขาจาก (การหลอกล่อของ) ชัยฏอน? (เศาะหีหฺ, อะหมัด, เล่ม 5 หน้า 420, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 24, อิบนุหิบบาน, เลขที่ 2020)]

[***ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมันวันละจำนวน 100 ครั้ง เขาจะได้รับผลบุญเท่ากับการปลดปล่อยทาสจำนวน 10 คน และจะได้รับการบันทึกผลบุญจำนวน 100 ผลบุญ และได้รับการลบล้างความชั่วจำนวน 100 ความชั่ว และจะได้รับการคุ้มครองจาก (การหลอกล่อของ) ชัยฏอนจนกระทั่งเวลาเย็น และจะไม่มีผู้ใดประเสริฐกว่าเขานอกจากผู้ที่ปฏิบัติเฉกช่นเดียวกับเขาหรือมากกว่านั้น? (เศาะหีหฺอัลบุคอรีย์, เลขที่ 3293, 6403, มุสลิม, เลขที่ 6783)]

25. سُبْحَانَكَ اللَّهُمَّ وَبِحَمْدِكَ، أَشْهَدُ أَنْ لاَ إِلَهَ إِلاَّ أَنْتَ، أَسْتَغْفِرُكَ وَأَتُوْبُ إِلَيْكَ

25. มหาบริสุทธิ์ยิ่งแด่พระองค์ โอ้อัลลอฮฺ และด้วยการสรรเสริญต่อพระองค์ ฉันขอปฏิญาณตนว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ ฉันขออภัยโทษต่อพระองค์ และฉันขอลุแก่โทษจากพระองค์

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดกล่าวสิ่งที่ดีมันจะเป็นตราปิดผนึกให้แก่เขาบนความดี และผู้ใดกล่าวสิ่งที่ไม่ดี (หรือเปล่าประโยชน์) มันจะเป็นตัวลบล้างบาปให้แก่เขา? (เศาะหีหฺ, อะหมัด, เล่ม 6 หน้า 77, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 425, อัลหากิม, เล่ม 1 หน้า 537)]

อิสติฆฟาร (การขออภัยโทษ)

อัลลอฮฺตรัสว่า

وَأَنِ اسْتَغْفِرُواْ رَبَّكُمْ ثُمَّ تُوبُواْ إِلَيْهِ [هود : 3]

?และพวกเจ้าจงของอภัยโทษต่อพระผู้อภิบาลของพวกเจ้า แล้วจงกลับเนื้อกลับตัวต่อพระองค์เสีย?

บรรดามุสลิมและมุสลิมะฮฺทุกคนควรจะขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺทุกๆวันไม่น้อยกว่า 100 ครั้ง ดังคำกล่าวของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมที่ว่า

إِنَّهُ لَيُغَانُ عَلَى قَلْبِي وَإِنِّي لأَسْتَغْفِرُ اللهَ فِي الْيَوْمِ مِائَةَ مَرَّةٍ

?แท้จริง ฉันรู้สึกเหมือนมีสนิม (ลืมรำลึกถึงอัลลอฮฺ) ในจิตใจของฉัน และแท้จริงฉันจึงจะขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺในวันหนึ่งๆจำนวน 100 ครั้ง? [เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 2702]

อิบนุลอะษีรกล่าวว่า ?ความหมายของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมที่ว่า (ลืมรำลึกถึงอัลลอฮฺ) นั้นคือ ท่านจะทำซิกิรรำลึกถึงอัลลอฮฺอย่างมากมาย และท่านจะทำตัวเข้าใกล้ชิดอัลลอฮฺเสมอ ดังนั้นหากมีช่วงใดเกิดล่าช้าในการทำซิกิร ท่านจะถือว่านั่นคือความผิดอย่างหนึ่ง หลังจากนั้น ท่านก็จะรีบกล่าวอิสติฆฟารทันที? [ญามิอุลอุศูล, เล่ม 4 หน้า 386]

ส่วนหนึ่งของสำนวนอิสติฆฟารที่มีสายรายงานที่ถูกต้อง คือ

أَسْتَغْفِرُ اللهَ الَّذِي لاَ إِلَهَ إِلاَّ هُوَ الْحَيُّ الْقَيُّوْمُ وَأَتُوْبُ إِلَيْهِ

?ฉันขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺ ผู้ซึ่งไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ ผู้ทรงชีวิน ผู้ทรงบริหารดูแลกิจการทั้งหลาย และฉันขอกลับคืนสู่พระองค์ (ขอลุแก่โทษจากพระองค์)?

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านมัน อัลลอฮฺจะทรงประทานอภัยโทษให้แก่เขา ถึงแม้ว่าเขาจะหลบหนีจากสมรภูมิรบก็ตาม? (เศาะหีหฺ, อบูดาวูด, เลขที่ 1517, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3648, อัลหากิม, เล่ม 1 หน้า 511)]

رَبِّ اغْفِرْ لِي وَتُبْ عَلَيَّ إِنَّكَ أَنْتَ التَّوَّابُ الرَّحِيْمُ

?โอ้พระผู้อภิบาลของฉัน ขอได้โปรดยกโทษให้แก่ฉัน ขอได้โปรดประทานอภัยโทษให้แก่ฉัน แท้จริงพระองค์คือผู้ทรงเปี่ยมด้วยการให้อภัยและทรงเมตตายิ่ง?

[ท่านอิบนุอุมัรเล่าว่า ?มีคนเคยนับคำกล่าวอิสติฆฟารข้างต้นของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมในมัจลิสเดียวได้ถึง 100 ครั้ง ก่อนที่ท่านจะลุกขึ้นออกจากมัจลิส? (เศาะหีหฺ, อะหมัด, เล่ม 2 หน้า 21, อัลบุคอรีย์ในอะดับอัลมุฟร็อด, เลขที่ 618, อบูดาวูด, เลขที่ 1516, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 459, อิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 3814)]

أَسْتَغْفِرُ اللهَ وَأَتُوْبُ إِلَيْهِ

?ฉันขออภัยโทษต่อพระองค์และฉันขอกลับคืนสู่พระองค์ (ขอลุแก่โทษจากพระองค์)?

[อบูฮุร็อยเราะฮฺเล่าว่า ?ฉันไม่เคยพบเห็นผู้ใดแม้แต่คนเดียวที่กล่าวอิสติฆฟาร (ข้างต้น) มากกว่าท่านรสูลุลลอฮฺศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม? (เศาะหีห, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัยละฮฺ, เลขที่ 454, อิบนุสสุนนีย์, เลขที่ 363, อิบนุหิบบาน, เลขที่ 928)]

เวลาอ่านซิกิรและวิธีการ
1. เวลาอ่านซิกิร

· เวลาอ่านซิกิรช่วงเช้า จะเริ่มจากเวลาฟัจญ์ริ จนกระทั่งเวลาละหมาดซุฮฺริ

· เวลาอ่านซิกิรในช่วงเย็น จะเริ่มจากเวลาอัสริ จนกระทั่งเวลาละหมาดอีชา

2. วิธีอ่านซิกิร
· สำนวนที่ขีดเส้นใต้ข้างล่าง เช่น أَصْبَحْنَا เป็นสำนวนที่ใช้อ่านเฉพาะในช่วงเช้า

· ส่วนสำนวนที่ใช้อ่านในช่วงเย็น ให้ใช้สำนวนที่อยู่ในวงเล็บแทน เช่น (أَمْسَيْنَا)

 

وَصَلَّى اللهُ عَلَى نَبِيِّنَا مُحَمَّدٍ وَعَلَى آلِهِ وَصَحْبِهِ أَجْمَعِيْنَ، سُبْحَانَ رَبِّكَ رَبِّ الْعِزَّةِ عَمَّا يَصِفُوْنَ،

وَسَلاَمٌ عَلَى الْمُرْسَلِيْنَ وَالْحَمْدُ للهِ رَبِّ الْعَالَمِيْنَ.

 

10
ส่วนหนึ่งของสำนวนการซิเกร
เศาะหีหฺอัซการเช้า-เย็น     
เขียนโดย Abu Asybal     
Tuesday, 07 November 2006 

หนังสือ ?อัลอัซการ อันนะบะวียะฮฺ? (บทซิกิรเช้า-เย็น) ที่เขียนโดย ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา เป็นหนังสือดุอาอฺและซิกิรที่ได้รับความนิยมและการตอบรับอย่างกว้างขวางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีมาแล้ว และได้มีการปรับปรุงล่าสุดเมื่อปี ฮ.ศ. 1424 (ค.ศ. 2003) โดยได้ตัดเอาซิกิรที่มีสายรายงานอ่อนมากออกพร้อมกับเพิ่มเติมซิกิรบางบทที่ตกหล่นจากต้นฉบับเดิม จนกลายเป็นหนังสือซิกิรเช้าเย็นที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์

และผู้เขียนได้ระบุในบทนำของคำแปลว่า ?เจตนารมณ์ในการรวบรวมอัซการนะบะวียะฮฺที่มีสายรายงานที่ษาบิต (ถูกต้อง) จากท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมและจากบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่าน เพื่อใช้อ่านในยามเช้าและยามเย็น และเพื่อเป็นคู่มือการปฏิบัติอามัลที่เป็นประโยชน์และมีความจำเริญที่ยาวนานต่อประชาชาติอิสลามที่บริสุทธิ์ใจที่จะปฏิบัติตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตของท่านนบีศ็อลลัลลออุอะลัยฮิวะสัลลัมและบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่านทั้งหลาย? [ตุรญุมาฮัน อัลอัซการอันนะบะวียะฮฺ, หน้า 4]

แต่เนื่องจากว่า ในหนังสืออัซการฉบับปรับปรุงใหม่ยังมีหะดีษเฎาะอีฟอยู่ ดังนั้นเพื่อประโยชน์ที่ครอบคลุมยิ่งขึ้น เพื่อความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นของหนังสือ และเพื่อเป็นการตอบสนองต่อเจตนารมณ์ของผู้เขียน ผู้เรียบเรียงจึงนำหนังสือฉบับปรับปรุงใหม่มาแปลเป็นภาษาไทยพร้อมกับเรียบเรียงใหม่ด้วยการตัดบทซิกิรที่มีสายรายงานอ่อนออก (2,6,7,8,13,14,22,25) และเพิ่มเติมบทที่เกี่ยวกับความสำคัญของการซิกิร

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า บทซิกิรในรูปแบบใหม่นี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อามัลทุกท่าน และขอวิงวอนต่ออัลลอฮฺโปรดให้ความดีงามจากหนังสือเล่มนี้เป็นมรรคผลในตราชั่งแห่งความดีแก่ผู้เขียน และผู้เรียบเรียงเอง ตลอดจนบิดามารดาและครูอาจารย์ทุกท่านที่มีส่วนในการประสาทความรู้ให้แก่ผู้เรียบเรียงด้วยเทอญ ? อามีน

ความสำคัญของซิกิร
อัลลอฮฺตรัสว่า

فَاذْكُرُونِي أَذْكُرْكُمْ وَاشْكُرُواْ لِي وَلاَ تَكْفُرُونِ [البقرة : 152]

?ดังนั้นพวกเจ้าทั้งหลายจงรำลึกถึงฉัน แล้วฉันจะรำลึกถึงพวกเจ้า และพวกเจ้าทั้งหลายจงขอบคุณฉัน และจงอย่าได้เนรคุณต่อฉัน?

يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا اذْكُرُوا اللَّهَ ذِكْراً كَثِيراً [الأحزاب : 41[

?โอ้ผู้มีศรัทธาทั้งหลาย พวกเจ้าทั้งหลายจงรำลึกถึงอัลลอฮฺ ด้วยการรำลึกที่มากมายเถิด?

وَالذَّاكِرِينَ اللَّهَ كَثِيراً وَالذَّاكِرَاتِ أَعَدَّ اللَّهُ لَهُم مَّغْفِرَةً وَأَجْراً عَظِيماً [الأحزاب : 35]

?และบรรดาผู้ที่ชอบรำลึกถึงอัลลอฮฺอย่างมากมาย ทั้งชายและหญิง อัลลอฮฺได้ทรงเตรียมการนิรโทษและรางวัลอันใหญ่หลวงสำหรับพวกเขา?

وَاذْكُر رَّبَّكَ فِي نَفْسِكَ تَضَرُّعاً وَخِيفَةً وَدُونَ الْجَهْرِ مِنَ الْقَوْلِ بِالْغُدُوِّ وَالآصَالِ وَلاَ تَكُن مِّنَ الْغَافِلِينَ [الأعراف : 205[

?และเจ้าจงรำลึกถึงพระผู้อภิบาลของเจ้าในจิตใจของเจ้า โดยความอ่อนน้อมและเกรงกลัว และโดยมาต้องส่งเสียงดัง ทั้งในยามเช้าและยามเย็น และเจ้าจงอย่าเป็นหนึ่งในจำนวนผู้หลงลืมทั้งหลาย?

وَاذْكُرِ اسْمَ رَبِّكَ بُكْرَةً وَأَصِيلاً [الإنسان : 25]

?และเจ้าจงกล่าวพระนามของพระผู้อภิบาลของเจ้า ทั้งยามเช้าและยามเย็น?

ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวว่า

مَثَلُ الَّذِي يَذْكُرُ رَبَّهُ وَالَّذِي لاَ يَذْكُرُ رَبَّهُ مَثَلُ الْحَيِّ وَالْمَيِّتِ

?อุปมาผู้ที่รำลึกถึงพระผู้อภิบาลของเขากับผู้ที่ไม่รำลึกถึงพระผู้อภิบาลของเขา อุปมาดั่งคนเป็นและคนตาย? [เศาะหีหฺอัลบุคอรีย์, เล่ม 11 หน้า 208 - ฟัตหุลบารีย์]

บทซิกิรเช้าเย็น
1. أَعُوْذُ بِاللهِ السَّمِيْعِ الْعَلِيْمِ مِنَ الشَّيْطَانِ الرَّجِيْمِ.

1. ฉันขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺผู้ทรงได้ยิน ผู้ทรงรอบรู้ (ให้ปลอดภัย) จากชัยฏอนผู้ถูกสาปแช่ง

[อัลลอฮฺตรัสความว่า ?ดังนั้น เมื่อเจ้าอ่านอัลกุรอานก็จงขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺ (ให้ปลอดภัย) จากชัยฏอนที่ถูกสาปแช่ง? (อันนะหฺลุ, 98)

และท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะกล่าวดุอาอฺ ?อะอูซุบิลลาฮฺ...? ทุกครั้งก่อนอ่านอัลกุรอานในละหมาด? (หะสัน, อบูดาวูด, เลขที่ 764, 765, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 242, อัลบัยฮะกีย์, เล่ม 2 หน้า 25-26)]

2. اللّهُ لاَ إِلَـهَ إِلاَّ هُوَ الْحَيُّ الْقَيُّومُ لاَ تَأْخُذُهُ سِنَةٌ وَلاَ نَوْمٌ لَّهُ مَا فِي السَّمَاوَاتِ وَمَا فِي الأَرْضِ مَن ذَا الَّذِي يَشْفَعُ عِنْدَهُ إِلاَّ بِإِذْنِهِ يَعْلَمُ مَا بَيْنَ أَيْدِيهِمْ وَمَا خَلْفَهُمْ وَلاَ يُحِيطُونَ بِشَيْءٍ مِّنْ عِلْمِهِ إِلاَّ بِمَا شَاء وَسِعَ كُرْسِيُّهُ السَّمَاوَاتِ وَالأَرْضَ وَلاَ يَؤُودُهُ حِفْظُهُمَا وَهُوَ الْعَلِيُّ الْعَظِيمُ [البقرة : 255]

2. อัลลอฮฺคือผู้ทรงไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ ผู้ทรงมีชีวิต ผู้ทรงบริหารกิจการทั้งหลาย ความง่วงและการหลับไม่อาจครอบงำพระองค์ สิ่งที่อยู่ในชั้นฟ้าทั้งหลายและที่อยู่ในแผ่นดินล้วนเป็นกรรมสิทธิ์ของพระองค์ ผู้ใดเล่าสามารถให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อื่น ณ พระองค์ นอกจากด้วยการอนุมัติของพระองค์เท่านั้น พระองค์ทรงรอบรู้สิ่งที่อยู่เบื้องหน้า และเบื้องหลังพวกเขา ในขณะที่พวกเขาไม่สามารถล่วงรู้ที่ครอบคลุมในสิ่งใดๆจากความรู้ของพระองค์ นอกจากสิ่งที่พระองค์ทรงประสงค์ เก้าอี้ของพระองค์ได้แผ่กว้างทั่วทุกชั้นฟ้าและแผ่นดิน และไม่เป็นการลำบากสำหรับพระองค์ที่จะทรงรักษามันทั้งสองไว้ และพระองค์คือผู้ทรงสูงส่ง ผู้ทรงยิ่งใหญ่เสมอ

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านดุอาอฺ (อายะฮฺกุรสีย์) ข้างต้นในยามเช้า เขาจะได้รับการคุ้มครองจากการรบกวนของญีนจนกระทั่งเย็น และผู้ใดอ่านมันในยามเย็น เขาจะได้รับการคุ้มครองจากการรบกวนของญีนจนกระทั่งเช้า? (เศาะหีหฺ, อันนะสาอีย์ในอะมะลุลเยาม์วัลลัลละฮฺ, เลขที่ 961, อัลหากิม, เล่ม 1 หน้า 562)]

3. آمَنَ الرَّسُولُ بِمَا أُنزِلَ إِلَيْهِ مِن رَّبِّهِ وَالْمُؤْمِنُونَ كُلٌّ آمَنَ بِاللّهِ وَمَلآئِكَتِهِ وَكُتُبِهِ وَرُسُلِهِ لاَ نُفَرِّقُ بَيْنَ أَحَدٍ مِّن رُّسُلِهِ وَقَالُواْ سَمِعْنَا وَأَطَعْنَا غُفْرَانَكَ رَبَّنَا وَإِلَيْكَ الْمَصِيرُ، لاَ يُكَلِّفُ اللّهُ نَفْساً إِلاَّ وُسْعَهَا لَهَا مَا كَسَبَتْ وَعَلَيْهَا مَا اكْتَسَبَتْ رَبَّنَا لاَ تُؤَاخِذْنَا إِن نَّسِينَا أَوْ أَخْطَأْنَا رَبَّنَا وَلاَ تَحْمِلْ عَلَيْنَا إِصْراً كَمَا حَمَلْتَهُ عَلَى الَّذِينَ مِن قَبْلِنَا رَبَّنَا وَلاَ تُحَمِّلْنَا مَا لاَ طَاقَةَ لَنَا بِهِ وَاعْفُ عَنَّا وَاغْفِرْ لَنَا وَارْحَمْنَا أَنتَ مَوْلاَنَا فَانصُرْنَا عَلَى الْقَوْمِ الْكَافِرِينَ [البقرة : 285-286]

3. รสูลผู้นี้ (นบีมุหัมมัด) ได้ศรัทธาต่ออัลกุรอานที่ได้ถูกประทานลงมาแก่เขาจากพระผู้อภิบาลของเขา และบรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลายก็ศรัทธาต่ออัลกุรอานเช่นกัน ทั้งหมดล้วนศรัทธาต่ออัลลอฮฺ บรรดามะลาอิกะฮฺของพระองค์ บรรดาคัมภีร์ของพระองค์ และบรรดาศาสนทูตของพระองค์ (พวกเขากล่าวว่า) เราจะมิได้จำแนกระหว่างผู้ใดจากบรรดาศาสนทูตของพระองค์ และพวกเขากล่าวว่า ?เราได้ยินแล้ว และเราเชื่อฟังแล้ว การอภัยโทษจากพระองค์ โอ้พระผู้อภิบาลของเรา (คือสิ่งที่พวกเราปรารถนา) และยังพระองค์เราจะกลับคืนสู่

อัลลอฮฺไม่ทรงแบกภาระให้แก่ชีวิตใดนอกจากในสิ่งที่เขาสามารถ เขาจะได้รับการตอบแทนในสิ่งดีตามที่เขาได้ขวนขวาย และเขาจะได้รับการลงโทษในสิ่งชั่วที่เขาได้ขวนขวายไว้เช่นกัน โอ้พระผู้อภิบาลของเรา ขอพระองค์ได้โปรดอย่าเอาผิดเรา หากเราเกิดหลงลืมหรือผิดพลาดไป โอ้พระผู้อภิบาลของเรา ได้โปรดอย่ามอบภาระหนักใดๆให้เราแบกรับ (จนเหนือความสามารถของเรา) ดังที่พระองค์ได้ทรงมอบให้ประชาชาติก่อนหน้าเราแบกรับมันไว้ โอ้พระผู้อภิบาลของเรา ได้โปรดอย่าให้เราแบกรับในสิ่งที่เหนือกำลังที่เราจะแบกรับมันได้ และได้โปรดยกโทษและประทานอภัยแก่เรา และเมตตาเราด้วยเถิด พระองค์คือเจ้านายของเรา ดังนั้นขอพระองค์ได้โปรดทรงช่วยเหลือพวกเราให้ได้รับชัยชนะเหนือกลุ่มชนที่ปฏิเสธศรัทธาด้วยเถิด

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านสองอายะฮฺสุดท้ายของสูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ (อายะฮฺ 285-286) ในเวลากลางคืน ดังนั้นสองอายะฮฺดังกล่าวย่อมเป็นการเพียงพอสำหรับเขา? (มุตตะฟักอะลัยฮฺ, อัลบุคอรีย์, เลขที่ 5008, มุสลิม, เลขที่ 875)]

4. حَسْبِيَ اللّهُ لا إِلَـهَ إِلاَّ هُوَ عَلَيْهِ تَوَكَّلْتُ وَهُوَ رَبُّ الْعَرْشِ الْعَظِيمِ [التوبة : 129] (7 ครั้ง)

4. อัลลอฮฺทรงพอเพียงแล้วสำหรับฉัน ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ แด่เพียงพระองค์เท่านั้นที่ฉันได้มอบหมายและพึ่งพา และพระองค์คือองค์อภิบาลแห่งบัลลังก์อันยิ่งใหญ่

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่านยามเช้าและยามเย็นจำนวนเจ็ดครั้ง ย่อมเป็นการเพียงพอสำหรับเขาในกิจการทางโลกและอาคิเราะฮฺที่ทำให้เขาต้องเสียใจกับมัน? (หะสัน, อิบนุสุนนีย์, เลขที่ 70 ด้วยสายรายงานที่มัรฟูอฺ, อบูดาวูด, เลขที่ 5081 ด้วยสายรายงานที่เมากูฟถึงอบูอัดดัรดาอฺ)]

5. قُلْ هُوَ اللَّهُ أَحَدٌ، اللَّهُ الصَّمَدُ، لَمْ يَلِدْ وَلَمْ يُولَدْ، وَلَمْ يَكُن لَّهُ كُفُواً أَحَدٌ [الإخلاص : 1-4] (3 ครั้ง)

5. จงกล่าวเถิด (โอ้มุหัมมัดว่า) ?พระองค์คืออัลลอฮฺผู้ทรงเอกะ อัลลอฮฺผู้ทรงเป็นที่พึ่งพาของบรรดาสรรพสิ่งทั้งหลาย พระองค์ไม่ทรงให้กำเนิดและไม่ถูกให้กำเนิด และไม่มีผู้ใดเสมอเหมือนพระองค์

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวความว่า ?ผู้ใดอ่าน ?กุลฮุวัลลอฮุอะหัด กุลอาอูซุบิร็อบบิลฟะลัก และกุลอะอูวุบิร็อบบินนาส? อย่างละสามครั้งในยามเช้าและยามเย็น ย่อมจะเป็นการเพียงสำหรับเขาในทุกๆสิ่ง? (หะสัน, อบุดาวูด, เลขที่ 5082, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3575)]

6. قُلْ أَعُوذُ بِرَبِّ الْفَلَقِ، مِن شَرِّ مَا خَلَقَ، وَمِن شَرِّ غَاسِقٍ إِذَا وَقَبَ، وَمِن شَرِّ النَّفَّاثَاتِ فِي الْعُقَدِ، وَمِن شَرِّ حَاسِدٍ إِذَا حَسَدَ [الفلق : 1-5] (3 ครั้ง)

6. จงกล่าวเถิด (โอ้มุหัมมัดว่า) ฉันขอความคุ้มครองต่อองค์อภิบาลแห่งเวลารุ่งอรุณ (ให้รอดปลอดภัย) จากความชั่วร้ายที่พระองค์ทรงบนดาลขึ้น จากความชั่วร้ายแห่งรัตติกาลเมื่อมันได้แผ่คลุม จากความชั่วร้ายของผู้เสกเป่าในปมเงื่อน และจากความชั่วร้ายของผู้ริษยาเมื่อเขาเกิดอิจฉาริษยา

7. قُلْ أَعُوذُ بِرَبِّ النَّاسِ، مَلِكِ النَّاسِ، إِلَهِ النَّاسِ، مِن شَرِّ الْوَسْوَاسِ الْخَنَّاسِ، الَّذِي يُوَسْوِسُ فِي صُدُورِ النَّاسِ، مِنَ الْجِنَّةِ وَ النَّاسِ [الناس : 1-6] (3 ครั้ง)

7. จงกล่าวเถิด (โอ้มุหัมมัดว่า) ฉันขอความคุ้มครองต่อองค์อภิบาลแห่งมนุษยชาติ ผู้ทรงอำนาจปกครองแห่งมนุษยชาติ ผู้ทรงเป็นพระเจ้าแห่งมนุษยชาติ (ให้รอดปลอดภัย) จากความชั่วร้ายแห่งการกระซิบกระซาบที่หลอกล่อ ซึ่งคอยกระซิบกระซาบในหัวอกของมนุษย์ (ให้คิดประพฤติชั่ว) จากหมู่ญีนและมนุษย์

8. اَللَّهُمَّ بِكَ أَصْبَحْنَا (أَمْسَيْنَا)[1]، وَبِكَ أَمْسَيْنَا (أَصْبَحْنَا)، وَبِكَ نَحْيَا وَبِكَ نَمُوْتُ، وَإلَيْكَ النُّشُوْرُ (اْلمَصِيْرُ)

8. โอ้อัลลอฮฺ พวกเรามีชีวิตอยู่ในเช้านี้ (ค่ำคืนนี้) ด้วยพระองค์ และพวกเรามีชีวิตอยู่ในค่ำคืนนี้ (เช้านี้) ด้วยพระองค์ พวกเรามีชีวิตอยู่ด้วยพระองค์ และตายด้วยพระองค์ และเราจะฟื้นคืนชีพกลับคืนสู่พระองค์

[ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะอ่านทุกๆเวลาเช้าและเวลาเย็น (เศาะหีหฺ, อัลบุคอรีย์ในอัลอะดับอัลมุฟร็อด, เลขที่ 1199, อบูดาวูด, เลขที่ 5068, อัตติรมิซีย์, เลขที่ 3391, อิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 3868)]

มีต่อ

11
[1]              Ibn Taimiyyah, Ahmad Ibn ?Abd Al-Halim Al-Harrani, meninggal pada tahun 728H.

[2]              Muhammad Ibn Abi Bakr Ayyub Az-Zar?i, meninggal pada tahun 751H.

[3]              Hafiz Firdaus Abdullah, Pembongkaran Jenayah Ilmiah Buku Salafiyah Wahhabiyah, Perniagaan Jahabersa, Johor Bahru, 2003, Hal: 33.

[4]              Muhammad Ibn Idris Ibn Al-Munzir Ar-Razi, Asl As-Sunnah Wa I?tiqad Ad-Din, Dalam: Hafiz Firdaus Abdullah, Pembongkaran Jenayah Ilmiah Buku Salafiyah Wahhabiyah, Perniagaan Jahabersa, Johor Bahru, 2003, Hal: 34.

[5]              Hasan Ibn ?Ali Ibn Khalaf Al-Barbahari, Syarh As-Sunnah, Tahqiq: Muhammad Sa?id Salim Al-Qahtani, Dar Ibn Al-Qayyim, Dammam, Arab Saudi, 1408H, Hal: 52.

[6]              Ismail Ibn ?Abd Ar-Rahman Ibn Ahmad, ?Aqidah As-Salaf Wa Ashab Al-Hadith, Dalam: Hafiz Firdaus Abdullah, Pembongkaran Jenayah Ilmiah Buku Salafiyah Wahhabiyah, Perniagaan Jahabersa, Johor Bahru, 2003, Hal: 35.

[7]              Al-Hujurat, 49: 6.

[8]              Tafsir Pimpinan Ar-Rahman, Bahagian Hal Ehwal Islam Jabatan Perdana Menteri, 1995, tafsiran ayat 46, surah An-Nisa?, Hal: 196.

[9]              Asy-Syura 42: 11.

[10]            Ibn Taimiyyah, Ahmad Ibn ?Abd Al-Halim Al-Harrani, Al-Aqidah Al-Wasitiyyah, Tahqiq: Muhammad Ibn ?Abd Al-?Aziz Ibn Mani?, Ar-Riasah Al-?Ammah Li Al-Ifta?, Riyadh, Arab Saudi, 1412H, Hal: 5-7.

[11]            Ibn Taimiyyah, Ahmad Ibn ?Abd Al-Halim Al-Harrani, Al-Aqidah Al-Wasitiyyah, Tahqiq: Muhammad Ibn ?Abd Al-?Aziz Ibn Mani?, Ar-Riasah Al-?Ammah Li Al-Ifta?, Riyadh, Arab Saudi, 1412H, Hal: 23-24.

[12]            Disebabkan kesederhanaan pegangan Ahli Sunnah Wa Al-Jamaah itu, maka beliau judulkan kitabnya dengan judul Al-Wasitiyah yang bermaksud ?sederhana?.

[13]            Ibn Taimiyyah, Ahmad Ibn ?Abd Al-Halim Al-Harrani, Ar-Risalah at-Tadmuriyyah, Hal: 30. Dipetik daripada Sa?id Ibn ?Ali al-Qahtani 1411H, Syarh Asma? Allah al-Husna Fi Dau? al-Kitab Wa as-Sunnah, Wazarah al-I?lam, Riyadh, Arab Saudi,  Hal: 64.

[14]            Sa?id Ibn ?Ali al-Qahtani, Syarh Asma? Allah al-Husna Fi Dau? al-Kitab Wa as-Sunnah, Wazarah al-I?lam, Riyadh, Arab Saudi, 1411H, Hal: 51.

[15]            Asy-Syura 42: 11.

[16]            ?Umar Ibn Sulaiman Al-Asyqar, Al-?Aqidah Fillah, Maktabah Al-Falah, Kuwait, 1984, Hal: 217.

[17]            ?Umar Ibn Sulaiman Al-Asyqar, Al-?Aqidah Fillah, Maktabah Al-Falah, Kuwait, 1984, Hal: 216.

[18]            Az-Zuhaili, Wahbah Az-Zuhaili, Usul Al-Fiqh Al-Islami, Dar Al-Fikr, Damsyik, Syria, 1986, 1:332.

[19]            Al-Ghari dalam bukunya Salafiyah Wahabiyah Satu Penilaian telah mengemukakan beberapa riwayat bahawa kononnya para sahabat telah melakukan takwil terhadap nas sifat. Riwayat-riwayat tersebut telah ditolak oleh Hafiz Firdaus Abdullah dalam bukunya Pembongkaran Jenayah Ilmiah Buku Salafiyah Wahhabiyah, Perniagaan Jahabersa, Johor Bahru, 2003.

[20]            Muhammad Amin Ibn Muhammad Al-Mukhtar Al-Jakni Asy-Syanqiti, Adwa? Al-Bayan Fi Idah Al-Quran Bi Al-Quran, 2: 319-320.

[21]            Muhammad Ibn Abi Bakr Az-Zar?i, As-Sawa?iq Al-Mursalah Fi Ar-Rad ?Ala Al-Jahmiyyah Wa Al-Mu ?attilah, Tahqiq: ?Ali Ibn Muhammad Ad-Dakhil, Dar Al-?Asimah, Riyadh, Arab Saudi, 1988, 1: 147-148.

[22]            Ibn Taimiyyah, Ahmad Ibn ?Abd Al-Halim Al-Harrani, Bayan Talbis Al-Jahmiyyah Fi Ta?sis Bida?ihim Al-Kalamiyyah, Tahqiq: Muhammad Ibn ?Abd Ar-Rahman Ibn Qasim, Matba?ah Al-Hukumah, Makkah, Arab Saudi, 1392H, Hal: 100-101.

 

12
Ketiga:       Lima Kaedah Dalam Berinteraksi Dengan Sifat-Sifat Allah.

Sesungguhnya pendekatan beriman dan menetapkan Sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala sebagaimana ia disebut di dalam Al-Quran dan As-Sunnah tidak akan membawa kepada fahaman tajsim atau tashbih, selagi kefahaman itu diikat kukuh dengan kaedah-kaedah pemahaman nas Sifat yang mantap. Antara kaedah-kaedah tersebut ialah:


Kaedah Pertama:

            Jika berlaku perkongsian nama antara Sifat Allah dan sifat makhluk, maka ia tidak boleh difahami dengan maksud penyamaan kedua-dua sifat tersebut, kerana persamaan nama sifat tidak semestinya menggambarkan persamaan hakikat sifat berkenaan[14]. Asas bagi kaedah ini diambil daripada firman Allah Subhanahu wa Ta'ala:

لَيْسَ كَمِثْلِهِ شَيْءٌ وَهُوَ السَّمِيعُ البَصِيرُ

Maksudnya: ?Tiada sesuatupun yang sebanding dengan (Zat, Sifat-Sifat dan pentadbiran) Nya, dan Dialah yang Maha Mendengar lagi Maha Melihat?[15].

Berdasarkan maksud ayat ini, jika berlaku perkongsian nama beberapa sifat tertentu antara Allah dan makhluk seperti sifat Al-Yad (Tangan), Al-Wajh (Wajah), Al-?Ain (Mata), Al-Hayy (Maha Hidup), As-Sami? (Maha Mendengar) dan Al-Basir (Maha Melihat), maka ia mesti difahami dalam konteks yang berbeza, bersesuaian dengan zat masing-masing. Dengan perkataan lain, sifat Tangan, Wajah, Mata, Maha Hidup, Maha Mendengar dan Maha Melihat yang ada pada Allah Subhanahu wa Ta?ala mesti difahami dalam konteks yang bersesuaian dengan keagungan dan ketuhananNya, manakala sifat tangan, hidup, mendengar dan melihat yang ada pada makhluk pula mesti difahami dalam konteks yang bersesuaian dengan kejadian dan kemakhlukannya.

Jika seseorang itu berpegang teguh dengan kaedah ini, maka tidak timbul unsur penyamaan dan penyifatan Allah Subhanahu wa Ta?ala dengan sifat makhluk, kerana penafian terhadap persamaan yang terkandung dalam ayat itu tidak memungkinkan wujudnya sebarang bentuk persamaan.

 

Kaedah Kedua:

            Perbahasan tentang Sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala sama seperti perbahasan berkenaan ZatNya[16]. Jika Allah Subhanahu wa Ta?ala memiliki Zat yang tidak menyerupai zat makhluk, maka demikian juga sifat dan perbuatanNya mesti difahami dalam konteks yang tidak menyerupai sifat dan perbuatan makhluk.

 

Kaedah Ketiga:

            Perbahasan tentang sebahagian daripada nas-nas Sifat sama seperti perbahasan berkenaan sebahagian yang lain[17]. Kaedah ini menolak pegangan sesetengah golongan yang menetapkan sebahagian sifat seperti sifat Hayah (Hidup), ?Ilm (Ilmu), Qudrat (Kuasa), Sam? (Dengar), Basar (Lihat), Kalam (Berkata-kata) dan Iradah (Berkehendak), tetapi pada masa yang sama mereka menolak pula sebahagian sifat yang lain seperti sifat Mahabbah (Kasih Sayang), Reda (Reda), Ghadab (Marah) dan Karahah (Benci) dengan menjadikan sifat-sifat itu hanya sebagai kiasan bagi maksud ni?mat dan pembalasan.

Mereka berpegang dengan pegangan sedemikian kononnya untuk mengelakkan berlakunya tasybih (penyerupaan sifat Allah dengan sifat makhluk). Maka, dengan kaedah ini dikatakan kepada mereka bahawa sifat-sifat yang kamu tetapkan bagi Allah Subhanahu wa Ta?ala itu juga ada pada makhluk. Justeru, sebagaimana kamu menetapkan sifat-sifat yang kamu tetapkan itu mengikut kesesuaiannya dengan kebesaran dan keagungan Allah Subhanahu wa Ta?ala, maka begitulah juga sifat-sifat yang kamu tolak itu juga mesti ditetapkan mengikut kebesaran dan keagunganNya bagi mengelakkan tasybih.

 

Kaedah Keempat:

            La Yajuz Ta?khir Al-Bayan ?An Waqt Al-Hajah, maksudnya: ?Tidak harus menangguhkan penjelasan pada masa ia diperlukan?[18]. Berdasarkan kaedah ini, maka tidak harus bagi Nabi Shallallahu ?alaihi wasallam menangguhkan penjelasan pada masa ia diperlukan, terutama dalam persoalan akidah.

Justeru sekiranya benar berpegang dengan zahir nas sifat akan membawa kepada kekufuran seperti yang didakwa oleh para pendukung takwil, maka kenapa Baginda Shallallahu ?alaihi wasallam tidak mentakwilkan perkataan istiwa? itu dengan perkataan istila? seperti yang dilakukan oleh para pentakwil itu? Seandainya benar semua nas-nas sifat itu mesti ditakwil untuk mengelak tasybih, nescaya Baginda Shallallahu ?alaihi wasallam akan menjelaskan takwilan setiap nas itu kepada para Sahabat radhiallahu 'anhum kerana tidak harus menangguhkan penjelasan pada masa ia diperlukan, lebih-lebih lagi dalam perkara yang melibatkan iman dan kekufuran.

Sekiranya ada penjelasan daripada Nabi Shallallahu ?alaihi wasallam berkenaan takwilan itu nescaya ia akan sampai kepada kita melalui riwayat yang sahih, sebagaimana nas-nas syara? yang lain. Oleh kerana tidak ada satu riwayatpun, baik riwayat hadith maupun riwayat sejarah berkaitan hal ini, maka ia mengesahkan kebid?ahan konsep takwil itu sendiri. Tidak harus diandaikan bahawa riwayat?riwayat berkenaan penjelasan itu tidak sampai kepada kita kerana andaian sedemikian bercanggah dengan jaminan Allah Subhanahu wa Ta?ala terhadap keselamatan ajaran agamaNya[19].


Kaedah Kelima:

            Faktor yang mendorong seseorang untuk menolak atau mentakwilkan sesuatu nas sifat bermula dengan tasybih. Kaedah ini bermaksud bahawa seseorang yang menolak atau mentakwilkan sesuatu nas sifat, dia sebenarnya telah terlebih dahulu mentasybihkan (menggambarkan penyerupaan) sifat Allah dengan sifat makhluk. Kemudian, setelah dia menggambarkan penyerupaan itu, dia merasa perlu untuk mentakwilkannya bagi mengelakkan gambaran tersebut. Dengan perkataan lain, seseorang yang mentakwilkan sesuatu nas sifat, dia sebenarnya telah melakukan dua kesesatan sekaligus, iaitu tasybih dan takwil. Dalam konteks ini Asy-Syanqiti rahimahullah berkata:

اعلم أولا أنه غلط في هذا خلق لا يحصى كثرة من المتأخرين فزعموا أن الظاهر المتبادر السابق إلى الفهم من معنى الاستواء واليد مثلا في الآيات القرآنية هو مشابهة صفات الحوادث، فقالوا: يجب علينا أن نصرفه عن ظاهره إجماعا لأن اعتقاد ظاهره كفر لأن من شبه الخالق بالمخلوق فهو كافر...ولا يخفى أن هذا القول من أكبر الضلال ومن أعظم الافتراء على الله جل وعلا ورسوله صلى الله عليه وسلم، والحق الذي لا يشك فيه أدنى عاقل أن كل وصف وصف الله به نفسه أو وصفه به رسوله صلى الله عليه وسلم فظاهره المتبادر منه السابق إلى فهم من في قلبه شيء من الإيمان هو التنـزيه التام عن مشابهة شيء من صفات الحوادث، فمجرد إضافة الصفة إليه جل وعلا يتبادر إلى الفهم أنه لا مناسبة بين تلك الصفة الموصوف بها الخالق وبين شيء من صفات المخلوقين...

والجاهل المفترى الذي يزعم أن ظاهر آيات الصفات لا يليق بالله لأنه كفر وتشبيه إنما جرّ إليه ذلك تنجس قلبه بقذر التشبيه بين الخالق والمخلوق فأداه شؤم التشبيه إلى نفي صفات الله جل وعلا وعدم الإيمان بها، مع أن جل وعلا هو الذي وصف بها نفسه، فكان هذا الجاهل مشبها أولا ومعطلا ثانيا فارتكب ما لا يليق بالله ابتداء وانتهاء، ولو كان قلبه عارفا بالله كما ينبغي معظما لله كما ينبغي طاهرا من أقذار التشبيه لكان المتبادر عنده السابق إلى فهمه أن وصف الله جل وعلا بالغ من الكمال والجلال ما يقطع أوهام علائق المشابهة بينه وبين صفات المخلوقين، فيكون قلبه مستعدا للإيمان بصفات الكمال والجلال الثابتة لله في القرآن والسنة الصحيحة مع التنـزيه التام عن مشابهة صفات الخلق على نحو قوله: ليس كمثله شيء وهو السميع البصير...

Maksudnya: ?Ketahuilah dahulu, bahawa sesungguhnya generasi terkemudian yang tersalah dalam perkara ini tidak terhitung ramainya kerana mereka menyangka makna zahir yang terlintas dan yang terlebih dahulu sampai kepada kefahaman terhadap perkataan seperti istiwa? (meninggi) dan yad (tangan) yang ada dalam ayat-ayat Al-Quran itu ialah musyabahah (penyerupaan) dengan sifat hawadith (makhluk). Mereka berkata: ?Wajib atas kita menukar (makna)nya dari zahirnya secara ijma? (sepakat) kerana berpegang dengan zahirnya adalah suatu             kekufuran dan sesiapa yang menyerupakan Al-Khaliq (Allah) dengan makhluk maka dia seorang kafir??.

Ternyata bahawa kata-kata ini dari (jenis) kesesatan dan pembohongan yang paling besar ke atas Allah Jalla Wa?ala dan juga ke atas RasulNya Shallallahu ?alaihi wasallam. Orang yang ada sedikit akal tidak akan meragui kebenaran bahawa setiap sifat yang Allah sifatkan diriNya atau yang disifatkan oleh RasulNya Shallallahu ?alaihi wasallam dengannya, maka (makna) zahir yang terlintas dan yang telah terlebih dahulu sampai kepada kefahaman orang yang ada sedikit iman di dalam hatinya ialah at-tanzih at-tam (penyucian yang sempurna) dari sebarang penyerupaan sifat hawadith (makhluk). Ini kerana dengan semata-mata penisbahan sifat itu kepadaNya Jalla Wa?ala, akan terlintas kepada kefahaman bahawa tidak ada kesesuaian antara sifat yang disifatkan pada Al-Khaliq itu dengan sebarang sifat makhluk.

Si jahil pembohong yang menganggap zahir ayat-ayat sifat itu tidak layak dengan (kebesaran) Allah kerana (kononnya) ia adalah suatu kekufuran dan tasybih, sebenarnya dia telah didorong kepada yang demikian itu oleh kenajisan hatinya dengan kotoran tasybih antara Al-Khaliq dan makhluk, maka kesialan tasybih itulah yang mendorongnya untuk menafikan sifat-sifat Allah Jalla Wa?ala dan juga untuk tidak beriman dengannya. Sedangkan Dialah Jalla Wa?ala yang menyifatkan diriNya dengannya.

Maka, si jahil itu pada mulanya dia seorang musyabbih (penyerupa sifat Allah dengan makhluk) dan kemudian dia menjadi seorang mu?attil (penafi sifat Allah). Justeru dia telah melakukan perkara yang tidak layak bagi Allah di awal dan di akhir. Sedangkan jika hatinya mengenal Allah dan mengagungkanNya sebagaimana yang sepatutnya, (dan jika hatinya) bersih daripada kotoran tasybih, nescaya yang terlintas dan yang terlebih dahulu sampai kepada kefahamannya ialah bahawa kesempurnaan dan keagungan penyifatan Allah Jalla Wa?ala telah sampai ke tahap memutuskan segala imaginasi penyerupaan antara sifatNya dan sifat makhluk.

Maka jadilah hatinya bersedia untuk beriman dengan sifat-sifat kesempurnaan dan keagungan yang tetap bagi Allah dalam Al-Quran dan As-Sunnah yang sahih beserta at-tanzih at-tam (penyucian yang sempurna) dari sebarang penyerupaan sifat makhluk, sebagaimana firmanNya (yang bermaksud): ?Tiada sesuatupun yang sebanding dengan (Zat, Sifat-Sifat dan pentadbiran) Nya, dan Dialah yang Maha Mendengar lagi Maha Melihat?[20].   

            Berdasarkan kaedah-kaedah di atas, dapat disimpulkan bahawa orang yang beriman dan yang menetapkan makna nas-nas sifat sebagaimana yang disebut oleh Al-Quran dan As-Sunnah, tidak sekali-kali akan terpalit dengan kotoran tasybih. Sebaliknya orang yang mentakwilkan nas-nas sifat itulah sebenarnya yang benar-benar bergelumang bahkan lemas dalam lopak najis tasybih itu.

 

 

Keempat:         Ibn al-Qayyim Juga Menolak Fahaman Tajsim Dan Tasybih.

            Sebagaimana Ibn Taimiyyah, muridnya Ibn Al-Qayyim juga tidak pernah mengungkapkan kata-kata yang menunjukkan bahawa beliau berpegang dengan fahaman tajsim dan tasybih, bahkan keseluruhan kenyataan beliau berkenaan sifat-sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala dalam kitab As-Sawa?iq Al-Mursalah itu juga menjurus kepada penolakan kedua-dua fahaman tajsim dan ta?til. Dalam konteks ini, beliau berkata:

...فالمعطّل جاحد لكمال المعبود والممثل مشبه له بالعبيد والموحّد مبين لحقائق أسمائه وكمال أوصافه وذلك قطب رحى التوحيد فالمعطل يعبد عدما والممثل يعبد صنما والموحد يعبد ربا ليس كمثله شيء...

Maksudnya: ?Maka Al-Mu?attil (orang yang menafikan sifat Tuhan) itu ialah orang yang menolak kesempurnaan (Tuhan) Yang disembah dan Al-Mumaththil (orang yang mengumpamakan Tuhan dengan sesuatu) itu pula ialah yang menyerupakanNya dengan hamba, manakala Al-Muwahhid (orang yang mentauhidkan Tuhan) itu ialah yang menerangkan hakikat nama-namaNya dan juga hakikat kesempurnaan sifat-sifatNya.

Yang demikian itu adalah pusat kisaran tauhid. Justeru Al-Mu?attil (seolah-olah) menyembah yang tiada dan Al-Mumaththil (seolah-olah) menyembah berhala, Manakala Al-Muwahhid itulah yang menyembah Tuhan yang tidak sebanding dengan sesuatu apapun?[21].

Berdasarkan kata-kata di atas, ternyata bahawa Ibn Al-Qayyim juga sama seperti gurunya Ibn Taimiyyah cuba menjelaskan kesederhanaan pegangan Ahli Sunnah Wal Jamaah yang berada antara dua jenis fahaman sesat yang melampau, iaitu fahaman tajsim (atau tasybih) dan fahaman ta?til. Penjelasan ini juga sudah tentu dilihat sebagai akuan dan penetapan beliau terhadap kebenaran pegangan Ahli Sunnah Wal Jamaah yang sederhana itu, dan bukan sebagai akuan terhadap fahaman tajsim.

Tidak dapat digambarkan betapa kotornya jiwa orang yang tergamak menuduh Ibn Taimiyyah dan Ibn Al-Qayyim dengan fahaman tajsim, sedangkan kedua-duanya adalah pejuang Sunnah yang paling tegas menolak fahaman tersebut.

 



 

Kelima:           Kata-Kata Sebenar Ibn Taimiyyah Dalam Kitab At-Ta?sis Fi Ar-Radd ?Ala Asas At-Taqdis.

            Kitab At-Ta?sis Fi Ar-Radd ?Ala Asas At-Taqdis yang dinisbahkan kepada Ibn Taimiyyah itu, juga dikenali dengan judul Bayan Talbis Al-Jahmiyyah Fi Ta?sis Bida?ihim Al-Kalamiyyah. Walaupun pembohongan dan pengkhianatan Al-Ghari ke atas Ibn Taimiyyah dan para ulama telah terbukti sebelum ini, namun untuk menambahkan lagi bukti kezaliman dan pengkhianatannya, diperturunkan di sini petikan kata-kata Ibn Taimiyyah daripada kitab At-Ta?sis Fi Ar-Radd ?Ala Asas At-Taqdis yang didakwa oleh Al-Ghari sebagai menyeleweng. Kata Ibn Taimiyyah:

ثم المتكلمون من أهل الإثبات لما ناظروا المعتزلة تنازعوا في الألفاظ الاصطلاحية، فقال قوم: العلم والقدرة ونحوهما لا تكون إلا عرضا وصفة حيث كان، فعلم الله وقدرته عرض، وقالوا أيضا: إن اليد والوجه لا تكون إلا جسما فيد الله ووجهه كذلك، والموصوف بهذه الصفات لا يكون إلا جسما فالله تعالى جسم لا كالأجسام، قالوا: وهذا مما لا يمكن النـزاع فيه إذا فهم المعنى المراد بذلك لكن أي محذور في ذلك وليس في كتاب الله ولا سنة رسوله ولا قول أحد من سلف الأمة وأئمتها أنه ليس بجسم وأن صفاته ليست أجساما وأعراضا، فنفي المعانى الثابتة بالشرع والعقل بنفي ألفاظ لم ينف معناها عقل ولا شرع جهل وضلال.

Maksudnya: ?Kemudian, ketika Al-Mutakallimun (ahli kalam) dari kalangan ahli ithbat (penetap sifat) berdebat dengan puak Muktazilah dalam masalah lafaz-lafaz istilah, maka ada satu kaum (Al-Mutakallimun) berkata: ?Sifat Ilmu, Qudrah (Kuasa) dan yang seumpamanya tidak boleh jadi melainkan dalam bentuk aradh (lawan kepada jauhar) dan sifat sebagaimana sedia, maka Ilmu Allah dan KekuasaanNya adalah aradh?.

Mereka (Al-Mutakallimun) juga berkata: ?Sesungguhnya sifat Tangan dan sifat Wajah tidak boleh jadi melainkan dalam bentuk jisim, maka Allah Subhanahu wa Ta?ala ialah jisim yang tidak seperti jisim-jisim lain?. Mereka (Al-Mutakallimun) berkata: ?Dan ini dari apa yang tidak mungkin dipertikaikan padanya, sekiranya difahami makna yang dimaksudkan itu, tetapi    apa salahnya pada yang demikian itu, sedangkan tidak ada (nas) dalam Kitab (Al-Quran), Sunnah RasulNya dan tidak juga ada kata-kata seorang pun dari kalangan salaf umat ini dan para imamnya bahawa Dia bukan jisim dan bahawa sifat-sifatNya bukan jisim dan bukan aradh-aradh. Justeru penafian makna-makna yang thabit dengan (nas) syara? dan akal dengan (cara) menafikan lafaz-lafaz yang tidak dinafikan maknanya oleh akal dan juga (nas) syara?, adalah satu kejahilan dan kesesatan?[22].

Berdasarkan kata-kata ini, dapat disimpulkan tiga perkara berikut:

I.        Ibn Taimiyyah hanya memetik hujah akal ahli kalam ketika mereka berdebat dengan puak Muktazilah dalam persoalan nas-nas sifat. Ini bermakna kata-kata itu sebenarnya bukanlah kata-kata Ibn Taimiyyah.

II.     Golongan Mutakallimun dari kalangan penetap sifat terpaksa mengemukakan hujah akal yang sedemikian kerana semata-mata ingin mematahkan hujah akal puak Muktazilah yang mentakwilkan makna nas-nas sifat tersebut. Ini bermakna, pendekatan mentakwilkan nas-nas sifat itu adalah pendekatan puak Muktazilah, sebagaimana ia juga merupakan pendekatan puak al-Jahmiyyah, seperti yang telah dijelaskan sebelum ini.

III.   Tuduhan Al-Ghari bahawa Ibn Taimiyyah menyatakan ulama salaf tidak mengkritik akidah tajsim dan tasybih jelas suatu pembohongan kerana ia bercanggah dengan kata-kata Ibn Taimiyyah, seperti yang telah dipetik dalam penulisan ini. Oleh kerana telah terbukti bahawa Ibn Taimiyyah menolak akidah tajsim dan tasybih, maka semua kata-kata ulama yang dipetik oleh Al-Ghari dalam (Menjawab Kritikan Terhadap Fahaman Wahabiyah Di Malaysia, Hal: 7) bagi membuktikan kritikan salaf terhadap akidah berkenaan, tidak ada kena mengena langsung dengan akidah Ibn Taimiyyah.


13
ต่อครับ

Pertama:  Antara Ciri Golongan Ahli Sunnah Adalah Mereka Dituduh Berfahaman Tajsim Dan Tasybih Oleh Golongan Ahli Bid?ah.

Tuduhan ke atas tokoh ulama Ahli Sunnah sebagai mujassimah dan musyabbihah bukanlah suatu yang baru kerana ia telah berlaku sejak dari dulu lagi ketika kemunculan aliran-aliran pemikiran yang sesat[3]. Dalam konteks ini, Abu Hatim Ar-Razi rahimahullah (227H) berkata (maksudnya):

?Tanda-tanda aliran Al-Jahmiyyah adalah mereka menggelar Ahli Sunnah sebagai musyabbihah??[4].

            Al-Barbahari rahimahullah (329H) pula berkata (maksudnya):

?Bila kamu mendengar seseorang berkata (kepada Ahli Sunnah): ?Si fulan adalah musyabbih (menyerupakan Sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala dengan sifat makhluk) atau si fulan memperkatakan tentang tasybih, maka ketahuilah bahawa dia (orang yang berkata itu) ialah seorang Jahmiyyah? [5].

            Manakala Abu ?Uthman As-Sobuni rahimahullah (499H) pula berkata (maksudnya):

?Ciri-ciri ahli bid?ah adalah sangat jelas dan yang paling jelas adalah sikap mereka yang secara terang-terang memusuhi dan menghina Ahli Sunnah dan Ahli Athar serta menuduh mereka dengan tuduhan yang buruk seperti Al-Hasyawiyyah (orang yang mementingkan perkara remeh-temeh), Al-Jahalah (orang yang jahil) dan Al-Musyabbihah (orang yang menyerupakan Sifat Allah dengan sifat makhluk)?[6].

            Justeru segala tuduhan yang dilemparkan oleh Al-Ghari ke atas Ibn Taimiyyah dan Ibn Al-Qayyim mestilah dinilai dan dipastikan kebenarannya terlebih dahulu, kerana seseorang yang sanggup berbohong ke atas Nabi Shallallahu ?alaihi wasallam dan tergamak mengecam para Sahabat radhiallahu 'anhum akan lebih tergamak untuk berbohong dan mengecam para ulama selain mereka. Allah Subhanahu wa Ta?ala berfirman:

يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا إِن جَاءكُمْ فَاسِقٌ بِنَبَأٍ فَتَبَيَّنُوا أَن تُصِيبُوا قَوْماً بِجَهَالَةٍ فَتُصْبِحُوا عَلَى مَا فَعَلْتُمْ نَادِمِينَ

Maksudnya: ?Wahai orang beriman! Jika datang kepadamu seorang fasiq membawa suatu berita, maka periksalah dengan teliti, agar kamu tidak menimpakan suatu musibah ke atas suatu kaum tanpa mengetahui keadaan sebenarnya, lalu kamu menyesal di atas perbuatanmu itu?[7].

 



 

Kedua:     Ibn Taimiyyah Sebenarnya Menolak Fahaman Tajsim Dan Tasybih.

Judul sebenar kitab yang dinisbahkan oleh Al-Ghari kepada Ibn Taimiyyah ialah Al-?Aqidah Al-Wasitiyyah Wa Majlis Al-Munazarah Fiha Baina Syeikh Islam Ibn Taimiyyah Wa ?Ulama ?Asrih. Berdasarkan judul ini, dapat difahami secara mudah bahawa kitab itu sebenarnya bukan karya Ibn Taimiyyah, tetapi karya ulasan oleh ulama terkemudian. Karya Ibn Taimiyyah yang sebenar ialah Al-Aqidah Al-Wasitiyyah.

Demikian juga bagi kitab Mukhtasar As-Sawa?iq Al-Mursalah, ia adalah ringkasan daripada karya asal Ibn Al-Qayyim yang berjudul As-Sawa?iq Al-Mursalah Fi Ar-Rad ?Ala Al-Jahmiyyah Wa Al-Mu?attilah.

Bila dirujuk kepada kitab Al-?Aqidah Al-Wasitiyyah dari awal sehingga akhir, maka didapati Ibn Taimiyyah langsung tidak menyebut ungkapan yang menunjukkan bahawa beliau berpegang dengan fahaman tajsim atau tasybih, sebaliknya keseluruhan kenyataan beliau berkenaan sifat-sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala menjurus kepada penolakan terhadap dua jenis fahaman sesat, iaitu tajsim (menjisimkan Allah Subhanahu wa Ta?ala atau tasybih) dan ta?til (menafikan sifat bagi Allah Subhanahu wa Ta?ala). Bahkan, Ibn Taimiyyah sebenarnya langsung tidak menyebut perkataan takwil dalam kitabnya Al-Aqidah Al-Wasitiyyah seperti yang didakwa oleh Al-Ghari itu. Kata Ibn Taimiyyah:

فهذا اعتقاد الفرقة الناجية المنصورة إلى قيام الساعة، أهل السنة والجماعة وهو الإيمان بالله...ومن الإيمان بالله الإيمان بما وصف به نفسه في كتابه وبما وصفه به رسوله محمد صلى الله عليه وسلم من غير تحريف ولا تعطيل ومن غير تكييف ولا ثمثيل بل يوءمنون بأن الله سبحانه ليس كمثله شيء وهو السميع البصير فلا ينفون عنه ما وصف به نفسه ولا يحرّفون الكلم عن مواضعه ولا يلحدون في أسماء الله وآياته ولا يكيّفون ولا يمثّلون صفاته بصفات خلقه لأنه سبحانه لا سميّ له ولا كفو له ولا ند له ولا يقاس بخلقه سبحانه وتعالى...

            Maksudnya: ?Maka ini adalah i?tiqad firqah najiah (puak yang selamat) Ahli Sunnah Wal Jamaah yang beroleh pertolongan sehingga hari Kiamat, iaitu beriman dengan Allah? Dan di antara (cara) beriman dengan Allah ialah beriman dengan apa yang Dia telah sifatkan diriNya dengannya dalam kitabNya dan dengan apa yang telah RasulNya Muhammad Shallallahu ?alaihi wasallam menyifatkanNya dengannya, tanpa tahrif (mengubah atau menukar ganti makna)[8], tanpa ta?til (menafikan sifat bagi Allah Subhanahu wa Ta?ala), tanpa takyif (menggambarkan rupa bentuk sifat) dan tanpa tamthil (mengumpamakan makna dengan sesuatu).

Bahkan, mereka (Ahli   As-Sunnah Wal Jamaah) beriman sesungguhnya Allah Subhanahu wa Ta?ala tidak sebanding (Zat, Sifat-Sifat dan pentadbiran) Nya dengan sesuatu apapun, dan Dialah yang Maha Mendengar lagi Maha Melihat[9]. Mereka (Ahli Sunnah Wal Jamaah) tidak menafikan dariNya apa yang Dia telah sifatkan diriNya dengannya, mereka tidak mentahrifkan perkataan dari tempat-tempat (atau maksud)nya yang sebenar, mereka tidak mengilhadkan (menolak secara anti) nama-nama Allah serta ayat-ayatNya, mereka tidak membentukkan rupa makna dan mereka tidak mengumpamakan sifat-sifatNya dengan sifat-sifat makhlukNya, kerana sesungguhnya (Allah) Subhanahu wa Ta?ala tidak ada yang menyamai namaNya, tidak ada yang menyetaraiNya, tidak ada yang menyekutuinya dan tidak boleh dikiaskanNya dengan makhlukNya, Subhanahu Wa Ta?ala??[10].

Di halaman yang lain, Ibn Taimiyyah berkata:

فإن الفرقة الناجية أهل السنة والجماعة يؤمنون بذلك كما يؤمنون بما أخبر الله به في كتابه من غير تحريف ولا تعطيل ومن غير تكييف ولا تمثيل بل هم الوسط في فرقة الأمة كما أن الأمة هي الوسط في الأمم فهم وسط في باب صفات الله سبحانه وتعالى بين أهل التعطيل الجهمية وأهل التمثيل المشبهة...

Maksudnya: ?Maka sesungguhnya firqah najiah Ahli Sunnah Wal Jamaah beriman dengan yang demikian itu (nas-nas hadith berkenaan sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala), sebagaimana mereka beriman dengan apa yang difirmankan oleh Allah Subhanahu wa Ta?ala dengannya dalam kitabNya, tanpa tahrif, tanpa ta?til, tanpa takyif dan tanpa tamthil. Bahkan merekalah yang sederhana di kalangan puak umat ini sebagaimana umat ini juga yang sederhana di kalangan umat-umat (yang lain), kerana mereka (Ahli Sunnah Wal Jamaah) sederhana dalam bab sifat-sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala di antara ahli Ta?til Al-Jahmiyyah dan ahli Tamthil Al-Musyabbihah?[11].

Berdasarkan kata-kata di atas, ternyata bahawa Ibn Taimiyyah berpegang dengan pegangan Ahli Sunnah Wal Jamaah dalam memahami nas-nas Sifat, iaitu tanpa tahrif (mengubah atau menukar ganti makna), tanpa ta?til (menafikan sifat bagi Allah Subhanahu wa Ta?ala), tanpa takyif (menggambarkan rupa bentuk sifat) dan tanpa tamthil (mengumpamakan makna dengan sesuatu). Ini jauh berbeza dengan golongan Al-Mujassimah dan Al-Musyabbihah yang berpegang dengan fahaman tajsim dan tasybih kerana mereka menyamakan kaifiyyat (bentuk dan ciri) sifat-sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala dengan makhluknya. Dalam kata-katanya itu, Ibn Taimiyyah cuba menjelaskan kesederhanaan pegangan Ahli Sunnah Wal Jamaah yang berada antara dua jenis fahaman sesat yang melampau, iaitu fahaman tajsim (atau tasybih) dan fahaman ta?til[12].

Dalam kitabnya yang lain Ibn Taimiyyah berkata:

فلا بد من إثبات ما أثبته الله لنفسه ونفي مماثلته لخلقه، فمن قال: ليس لله علم ولا قوة ولا رحمة ولا كلام ولا يحب ولا يرضى ولا نادى ولا ناجى ولا استوى كان معطّلا جاحدا ممثّلا لله بالمعدومات والجمادات، ومن قال: له علم كعلمي أو قوة كقوتي أو حب كحبي أو رضا كرضاي أو يدان كيديّ أو استواء كاستوائي كان مشبّها ممثّلا لله بالحيوانات، بل لا بد من إثبات بلا تمثيل وتنـزيه بلا تعطيل.

Maksudnya: ?Maka tidak dapat tidak, mesti menetapkan apa yang telah Allah tetapkan bagi diriNya dan menafikan penyerupaanNya dengan makhlukNya. Sesiapa yang kata Allah tidak ada ilmu, tidak ada kekuatan, tidak ada kasihan belas, tidak ada percakapan, tidak ada kasih sayang, tidak ada keredaan, tidak memanggil, tidak menyeru dan tidak meninggi, maka dia adalah seorang pembatal yang ingkar (terhadap sifat Allah) dan yang menyamakan Allah dengan benda yang tiada atau benda yang kaku.

Manakala sesiapa yang kata ilmuNya seperti ilmuku, kekuatanNya seperti kekuatanku, kasih sayangNya seperti kasih sayangku, keredaanNya seperti keredaanku, tanganNya seperti tanganku dan meninggiNya seperti meninggiku, maka dia adalah seorang musyabbih yang menyamakan Allah dengan haiwan (makhluk). Justeru, tidak dapat tidak, mesti mengithbatkan (menetapkan) tanpa penyamaan dan mesti mensucikan tanpa pengingkaran? [13].

Penjelasan Ibn Taimiyyah ini sudah tentu dilihat sebagai akuan dan penetapan beliau terhadap kebenaran pegangan Ahli Sunnah Wal Jamaah yang sederhana itu, dan bukan sebagai akuan terhadap fahaman tajsim. Adalah sangat tidak munasabah jika seorang tokoh ulama yang telah menjelaskan kesesatan fahaman tajsim tiba-tiba dituduh berpegang dengan fahaman tersebut.


14
ขอโทษเป็นภาษามลายู
TOHMAHAN PERTAMA:

Ibn Taimiyyah Dan Ibn al-Qayyim Pencetus Fahaman Tajsim Dan Tashbih.

 

Dalam Menjawab Kritikan Terhadap Fahaman Wahabiyah Di Malaysia, Hal: 3-4 (Memahami Ancaman Terhadap Ahli Sunnah Wal Jamaah, Hal: 4-5) Al-Ghari mentohmah Ibn Taimiyyah[1] dan muridnya Ibn Al-Qayyim[2] sebagai pencetus fahaman tajsim (memvisualisasikan Tuhan) dan tashbih (menyerupakan Tuhan dengan makhluk). Beliau cuba membuktikan tohmahan itu berdasarkan kenyataan Ibn Taimiyyah yang dikatakan menolak takwilan terhadap ayat-ayat sifat Allah Subhanahu wa Ta?ala dalam kitab Munazarah Aqidah Al-Wasitiyyah, manakala tuduhan ke atas Ibn Al-Qayyim pula didasarkan kepada kitab Mukhtasar As-Sawa?iq Al-Mursalah.

Kemudian, dalam Menjawab Kritikan Terhadap Fahaman Wahabiyah Di Malaysia, Hal: 6, Al-Ghari menuduh Ibn Taimiyyah ada menyatakan dalam kitabnya At-Ta?sis Fi Ar-Radd ?Ala Asas At-Taqdis bahawa aqidah tajsim dan tasybih tidak dicela dalam Al-Quran dan tidak ada seorangpun dari kalangan ulama salaf yang mengkritik aqidah tersebut.

มีต่อครับ

15
ผมแปลไม่อยากให้บังแปล
يصعب علىالمرء أن يتحدث عن الذين يحترمهم دون أن يخاف سوء الفهم ، ذلك أنه لا يزال الكثيرون يخلطون بين المواقف الفكرية والمواقف الأخلاقية ،فليس من السهل أن يصدق هؤلاء أنك تحترم الشخص بالرغم من أنك تنتقده . بناء على هذه المقدمة الضرورية أقدم هنا وجهة نظر في المسيرة الفكرية للمفكر الإسلامي المعروف الدكتور محمد سعيد رمضان البوطي أحد أبرز رموز الفكر الإسلامي المعاصر ،الذي ـ وككثير من المفكرين ـ خاض جملةً من السجالات والخصومات الفكرية، ولكن السجال والخصومة أخذت معه تأثيراً مميزاً ، فقد استغرق الجدال الفكري بينه وبين مخالفيه من التيارات الإسلامية الأخرى الفترة الطويلة من حياته ، بل إن بداية شهرته الواسعة قامت على إحدى المناقشات ، وهي التي أجراها مع الشيخ ناصر الدين الألباني في السبعينيات ، والتي تطورت إلى خصومة حادة ، استمرت مدة تزيد عن عقدين بالاتهامات المتبادلة والمبالغ فيها.
    وأياً ما تكن تلك الحوارات و السجالات التي خاضها البوطي فيما بعد ؛ فإن أكثرها ذيولاً كان سجاله مع الألباني، فهو الذي أسس بشكل عميق وواسع لأغلب منتقديه ، وخصوصاً في التيار السلفي ( أعني بالسلفي هنا التيار المعروف ) حتى أصبح هذا التيار هو الخصم الأساسي والمستمر له . ففي الوقت الذي أخذت فيه مسيرة ذلك الحوار تنتقل إلى خصام منشور (بالكتابة والتسجيل الصوتي)، بدأت موجة الانتقاد الأولى تتنامى وتتعاظم داخل التيار السلفي و امتداداته في أنحاء كثيرة من العالم الإسلامي .
     ورغم اختلافه المبكر مع حركات الإسلام السياسي ، إلا أنه بقي على مسافة نقدية ذات خطاب معتدل حفظت له جمهوره بالرغم من الموجة النقدية السابقة ، حيث يعتبر جمهوره حتى بداية التسعينيات أكثر من منتقديه.
     ومنذ نهاية الثمانينيات أخذ نجمه بالصعود ، إذ حقق هزيمةً لأحد رموز الماركسيين في حوارٍ ساخن على شاشة التلفاز السوري ، في وقتٍ كانت فيه الأنباء تنقل أحداث سقوط الاتحاد السوفيتي ؛ مما جعل انتصاره يعني أكثر من هزيمة لمفكر ماركسي ؛ فقد فهم على أنه سقوط للفكر الماركسي نفسه ‍‍‍‍، مقابل ذلك السقوط المادي له . ولكن لم يلبث البوطي في بداية التسعينيات أن فقد أكثر جمهوره ، بسبب مواقفه السياسية ( وهي تعبير عن مواقفه الفكرية السابقة من حركات الإسلام السياسي ) ، وموقفه النقدي اللاذع من جبهة الإنقاذ الإسلامية في الجزائر، مترافقاً ذلك مع صدور كتابه الجهاد ؛ والذي رأى فيه الكثيرون (( أنه الأضعف من بين نتاجاته الفكرية )) يقوم على (( أرضية سياسية)) أكثر منها فقهية .
    وبغض النظر عن هدف هذا الكتاب وقيمته ؛ فإنه ساهم كثيراً في تقليص جمهوره، بحيث انقلبت كفة الرجحان إلى غير صالحه ، فقد أصبح منتقدوه أضعاف جمهوره . إن هذه الموجة الانتقادية هي الأعتى بلا شك ، وهي الأكثر إساءةً له ؛ فقد دخل في خصومة سياسية - فكرية مع عموم الحركات الإسلامية ، في فضاء الإسلام السياسي ، و هوالفضاء الذي يشكل دائرة مفعمة بالتوتر وفي غاية الخطورة ، ؛ فالانحياز لأحد طرفي العلاقة (الحركة/السلطة) له نتائجه المتعبة ، والتي يحصدها البوطي منذ ذلك الوقت ، فيما يمكن وصفه بالموجة الانتقادية الثانية .
     إن البوطي ـ وهو يخوض سجالاته تلك ـ يصدر عن رؤيةٍ للعَالَم والواقع في علاقته بالإسلام (كدين و حضارة)، وعن بنية تفكير محددة ، ويتكئ على أرضيةٍ صلبةٍ من التراث الإسلامي بحقوله العلمية و المعرفية المختلفة. وبغض النظر عن مدى اختلافنا مع هذه الرؤية للعالم والواقع ، وطريقة تناوله لهذا التراث الغني ، فإنه لا يمكن القول إلا أنه كان مخلصاً في أفكاره ومواقفه أشد الإخلاص ، الأمر الذي يجعله يبدو للبعض متعصباً لآرائه في أحايين كثيرة. ورغم كل ما حدث فقد بقي البوطي منزهاً عن الاتهامات ، فيما يتعلق بالالتزام الخلقي والإيماني بالإسلام ، فليس في خصومه جميعاً من يتهمه في ذلك . وهكذا تأتي آراؤه ومواقفه (( كاجتهادات )) تبتغي مصلحة المسلمين دون شك ، وإن كان يختلف معه الكثيرون بنفس القاعدة . والقارئ المتابع لكتابات البوطي و جدالاته في سجالاته الفكرية ؛ سيكتشف فيه شخصيةَ المناضل الصلب ، الذي يحارب في سبيل أفكاره ومبادئه ، كما سيكتشف فيه شخصية العالم المتمكن ، بقدر ما يرى " قساوةً " في مواقفه من الأشخاص والآراء.
    ونحن وإن كان يمكننا أن نختلف معه في نظرته " المتشككة " لعلاقة الغرب والعالم بالإسلام بوصفها علاقة صراع وتآمر مستمرين، في مزج بين السياسي والمعرفي والأيديولوجي، ونختلف معه في طريقة الدفاع عن الإسلام ومناقشة الفكر الإسلامي المعاصر، و الإشكالات المعرفية في التراث الإسلامي نفسه، وبالتالي يمكننا أن نختلف معه " جذرياً " في طريقة وصفه للآخرين من التيارات الإسلامية المختلفة معه، والتي نرى فيها توتراً وتعسفاً أكثر مما تتطلبه، ونختلف معه أيضاً في طريقة تعامله مع التراث الإسلامي ( بوصفه جهداً بشرياً قام حول النص الشرعي ) .. إذا كنا نختلف معه في كل ذلك ـ وهو شيء ليس بالقليل ـ فإن مساحة الاتفاق معه واسعةٌ إلى حدٍ يمكننا أن نتحاور من خلاله ونتعايش معه دون إشكال ، فالأرضية التي ينطلق منها وهي التسليم بحقائق الإسلام هي الأرضية الثابتة التي لا نختلف عليها ، والتي تكفي كفاية تامةً ـ عند وعيها ـ لإقامة جسر التواصل .
     و إذا كنا لا نخفي اختلافنا المذكور ؛ فإنه لا يمكننا أن ننكر الدور الذي قام به في بث " روح الصحوة " وتقديم صورة جديدة للإسلام ، تحمس لها قطاع واسع من الشباب (في سورية خصوصـًا) ، فقد كانت كتابات البوطي تسهم بشكل مؤثر في تفتح الجيل على الإسلام ، بكل ما تحمله من حسًّ صادقٍ و محترقٍ على الإسلام والمسلمين . هذا الحس الذي كان بتوهجه يبعث في قارئيه روحاً متوهجة مثله ، وبذلك الذكاء العالي والعقلانية " الموظفة " كان يبعث في القارئ وعياً جديداً ، ويخلق له الأمن النفسي والاستقرار الذهني ، بقدر ما يفتح له نافذة الأسئلة والتفكير  حين كان القارئ لكتبه ينصهر دوماً معه ، في درجة عاليةٍ من " التسليم " و الاقتناع . لقد كانت كتاباته ـ باختصار ـ " جرعة " مؤثرةً و ممتدة في الصحوة الإسلامية السورية الراهنة ، فقد غذّاها بإحساس عميق بقوة الإسلام الذاتية .
     ثمة محاولة قامت لإثارة موجة انتقادية جديدة ضده ، تريد فضّ ما بقي من جمهوره عنه ، يقوم بها البعض بطريقة " الصيد في الماء العكر " ، و حيث كانت الموجتان النقديتان السابقتان قائمتين في حركات وأفكار ذات نطاق واسع الانتشار ( سلفية ، صوفية ، حركات الإسلام السياسي ) وكانتا بمثابة رد فعل على مبادراته النقدية ، فإنه - وفي هذه المرة - يستثار النقد قسراً فثمة إرادة لإثارة النقد ابتداءً ، يقوم بها أشخاص مختلفون جداً عمن سبق ويشكلون خلطة محيرة من العلم والجهل ، من " جماعة الأحباش " اللبنانية الذين استغلوا خصوماته السابقة في هذه الحملة ، لتتخذ أدلة على ضلاله وانحلاله وانحرافه عن الإسلام! ففي نهاية العام الماضي 1998 وعقب حوارات قيل إنها دارت بينهم و بين الدكتور البوطي بين عامي 1995 - 1998 صدر كتاب معنون بـ " الرد العلمي " عليه ، ويبدو أنه لم يخطر ببال الدكتور البوطي ـ الذي ربما كان حاورهم لهم فعلاً ـ أن تنقلب حماقات هؤلاء عليه ، فراحوا يستنتجون في النهاية أنه " متطرف ، خليع ، إباحي ، مجسم ، حلولي ، مناهض للكتاب والسنة ?الخ " ! ! وإذا كان الرجل الذي تكال له هذه الاتهامات كالبوطي ؛ فإنه من العسير أن تجد لها صدىً لدى أي من القراء الذين يعرفونه ، بل حتى عند خصومه و أعدائه الأيديولوجيين . لا شك أن هذه الانتقادات إن صح أن نسميها " موجة نقديّة جديدة " فهي من أكثر الخصومات ابتذالاً ، ولا شك أنها أقلها تأثيراً واستمراراً .
     إن الدكتور البوطي أستاذ مبدع ، و عالم جليل ، و رمز معروفٌ من رموز الفكر الإسلامي المعاصر بلا جدال ، و إذا كنا سنختلف معه ـ قليلا أوكثيراً ـ فإن علينا أن نحتفظ في اختلافنا معه بالقدر اللائق من التقدير و الاحترام له ، فالمسيرة الطويلة التي أمضاها البوطي مناضلاً مخلصاً في جبهات فكرية متعددة ينبغي أن تبقى بعين الاعتبار .
     وفي المدة الأخيرة خصص البوطي كتبه لمساجلة تيار الفكر الإسلامي التجديدي المعاصر ،تحت عناوين مختلفة وخصوصـًا كتابه ((يغالطونك إذ يقولون ط2000م)) ،ويقوم نقده على أن المعاصرة إجمالاً مؤامرة أصلها من الخارج، وهو يضع الكل في سلة واحدة . ولكننا وإن كنا نختلف معه بشكل كامل ،فإننا نشير إلى استغلال سيء لمصطلح من قبل تيارات فكرية عربية ( خصوصـًا اليسارية والماركسية ) ، وبناء على هذا الاستغلال يجد البعض (والبوطي هنا) مبرراً لنسف الفكرالاسلامي الجديد ، ونحن نتوقع أن تكون موجة النقد الجديدة من هنا . ولكن هل ستأتي موجة النقد هذه بزحزحة لخارطة جمهوره مرة أخرى ، أم أنها ستعززها من جديد

(الشبكة الإسلامية) عبد الرحمن الحاج إبراهيم - كاتب وباحث سوري

หน้า: [1] 2