ผู้เขียน หัวข้อ: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)  (อ่าน 3978 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

นูรุ้ลอิสลาม

  • บุคคลทั่วไป

باب مرفوعات الأسماء

المرفوعاتُ سبعة، وهي: الفاعل ، والمفعول الذي لم يُسَمَّ فاعِلُهُ، والمبتدأ وخبره،واسم كان واخواتها، وخبر إنَّ وأخواتها، والتابع للمرفوع، وهو أربعة أشياء: النَّعتُ، والعطفُ، والتوكيد، والبَدَل.

باب الفاعل

الفاعل:هو الاسم المرفوعُ المذكورُ قبلَهُ فِعلَهُ، وهو على قسمين: ظاهِر ومُضمَر.

فالظاهر نحو قولِك: قام زيدٌ، ويقوم زيدٌ، وقام الزَّيدانِ، ويقومُ الزَّيدانِ، وقامَ الزَّيدونَ، ويقوم الزَّيدون، وقام الرجالُ، ويقومُ الرجالُ، وقامَت هِندُ، وتقومُ هندُ، وقامَتِ الهِندانِ، وتقوم الهندان، وقامت الهِنداتُ ، وتقومُ الهنداتُ، وقامَت الهُنُودُ ، وتقوم الهُنُودُ، وقامَ أخوكَ، ويقوم أخوك، وقامَ غُلامي، ويقومُ غُلامي، وما أشبَهَ ذلك.

والمُضمَر اثنا عشر، نحو قولك: ضَربْتُ، وضربْنَا، وضَرَبْتَ، وضَرَبْتِ، وضربْتُمَا ، وضربْتُم، وضرَبْتُنَّ، وضَرَبَ، وضَرَبَتْ، وضَرَبَا، وضَرَبُوا، وضَرَبْنَ.


ออฟไลน์ ฮุ้นปวยเอี๊ยง

  • رَبِّ زدْنِيْ عِلْماً
  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 994
  • เพศ: ชาย
  • وَارْزُقْنِيْ فَهْماً
  • Respect: +116
    • ดูรายละเอียด
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: เม.ย. 17, 2008, 04:19 PM »
0
باب مرفوعات الأسماء
บรรดาคำนามที่ถูกรอเฟาะอ์



المرفوعاتُ سبعة، وهي: الفاعل ، والمفعول الذي لم يُسَمَّ فاعِلُهُ، والمبتدأ وخبره،واسم كان واخواتها، وخبر إنَّ وأخواتها، والتابع للمرفوع، وهو أربعة أشياء: النَّعتُ، والعطفُ، والتوكيد، والبَدَل

แบ่งออกเป็น

-.ฟาอีล(ผุ้กระทำ)
-.มัฟอูล(ผลจากการกระทำ หรือ กรรม)ที่ไม่พูดถึงฟาอีล (มีด้วยหรอ อิอิ ปกติมันต้องมีฟาอีลด้วยต)ติดตามบทต่อๆไป
-.มุบตา และ คอบัร (ติดตามบทต่อไป)
-.คำนาม كان และพี่น้องของมัน
-.คอบัร  إنَّ  และพี่น้องของมัน
والتابع للمرفوع، وهو أربعة أشياء: النَّعتُ، والعطفُ، والتوكيد، والبَدَ

-(สุดท้าย) และอิเซมที่ตามรอเฟาะอ์ แบ่งออกเป็น 4ประเภท
1.النَّعتُ  คือ เช่น บ้านอยู่ของฉันอยู่ที่ สตูล  คำว่า -ที่- เป็น นาอะห์
2.والعطفُ คือ คำเชื่อม เช่น ฉันและเธอ คำว่า และ เป็น อาตอฟ
3. والتوكيد คือ  إِنَّ เป็นคำที่ว่า ทำให้ ย้ำๆมันประมาณนี้ คำว่าอินนา แปลว่า แท้จริง

4.والبَدَ คือ คำแทน  สรรพนาม

__________________________________________________________________________________________________________


เหลืออีกบท 1 ในกระทู้นี้มี 2 บท อีกอย่างหนึงผมยังเด็กอยู่ และไม่ค่อยชำนาญและหยุดเรียนนานแล้ว  ถ้าจบ ม.6 คงจะเซียนกว่านี่
นิดนึง     ผิดๆลืมๆ บังๆมาแนะ ด้วย

ออฟไลน์ ILHAM

  • เพื่อนตาย T_T
  • *****
  • กระทู้: 11348
  • เพศ: ชาย
  • Sherlock Holmes
  • Respect: +273
    • ดูรายละเอียด
    • ILHAM
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: เม.ย. 18, 2008, 12:17 AM »
0
เหลืออีกบท 1 ในกระทู้นี้มี 2 บท อีกอย่างหนึงผมยังเด็กอยู่ และไม่ค่อยชำนาญและหยุดเรียนนานแล้ว  ถ้าจบ ม.6 คงจะเซียนกว่านี่
นิดนึง     ผิดๆลืมๆ บังๆมาแนะ ด้วย
เปิดหนังสือดูก็ได้ ไม่ต้องใช้ความจำล้วนๆหรอกครับ
إن شاءالله ติด ENT'?everybody

Sherlock Holmes said "How often have I said to you that when you have eliminated the impossible, whatever remains, however improbable, must be the truth?"
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ออฟไลน์ ฮุ้นปวยเอี๊ยง

  • رَبِّ زدْنِيْ عِلْماً
  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 994
  • เพศ: ชาย
  • وَارْزُقْنِيْ فَهْماً
  • Respect: +116
    • ดูรายละเอียด
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: เม.ย. 18, 2008, 10:09 AM »
0
باب الفاعل


الفاعل:هو الاسم المرفوعُ المذكورُ قبلَهُ فِعلَهُ، وهو على قسمين: ظاهِر ومُضمَر.

فالظاهر نحو قولِك: قام زيدٌ، ويقوم زيدٌ، وقام الزَّيدانِ، ويقومُ الزَّيدانِ، وقامَ الزَّيدونَ، ويقوم الزَّيدون، وقام الرجالُ، ويقومُ الرجالُ، وقامَت هِندُ، وتقومُ هندُ، وقامَتِ الهِندانِ، وتقوم الهندان، وقامت الهِنداتُ ، وتقومُ الهنداتُ، وقامَت الهُنُودُ ، وتقوم الهُنُودُ، وقامَ أخوكَ، ويقوم أخوك، وقامَ غُلامي، ويقومُ غُلامي، وما أشبَهَ ذلك.

والمُضمَر اثنا عشر، نحو قولك: ضَربْتُ، وضربْنَا، وضَرَبْتَ، وضَرَبْتِ، وضربْتُمَا ، وضربْتُم، وضرَبْتُنَّ، وضَرَبَ، وضَرَبَتْ، وضَرَبَا، وضَرَبُوا، وضَرَبْنَ



เดียวมาต่อหลังละหมาดบทนี่ ไม่ยาก

ออฟไลน์ قطوف من أزاهير النور

  • ดุนยา..มาเพื่อไป
  • ทีมงานหลังบอร์ด (-_-''')
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 1582
  • อยากเป็นเด็กดีของอัลลอฮฺ
  • Respect: +9
    • ดูรายละเอียด
    • แวะไปเม้นหน่อยน่า ^^
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: เม.ย. 18, 2008, 01:33 PM »
0
อ้างถึง
บรรดาคำนามที่ถูกรอเฟาะอ์


มีทางที่จะแปลแล้วไม่ใช้คำทับศัพท์ไหมอ่ะคะน้องอู๋   
พี่ไม่เคยเรียนน่ะ แต่อยากรู้เรื่องด้วย  ;D ;D ;D
يَا بُنَيَّ إِنْ قَدَرْتَ أَنْ تُصْبِحَ وَتُمْسِيَ لَيْسَ فِي قَلْبِكَ غِشٌّ لِأَحَدٍ فَافْعَلْ
 ثُمَّ قَالَ لِي يَا بُنَيَّ وَذَلِكَ مِنْ سُنَّتِي وَمَنْ أَحْيَا سُنَّتِي فَقَدْ أَحَبَّنِي وَمَنْ أَحَبَّنِي كَانَ مَعِي فِي الْجَنَّةِ

"โอ้ลูกรัก ถ้าหากเจ้าสามารถที่จะตื่นขึ้นมาในเวลาเช้าจนถึงเวลาเย็น โดยที่เจ้าไม่คิดร้ายต่อผู้ใด เจ้าจงกระทำเถิด
หลังจากนั้นท่านได้กล่าวแก่ฉันอีกว่า โอ้ลูกรัก และนั่นแหละเป็นแนวทางของฉัน
ผู้ใดฟื้นฟูแนวทางของฉันแสดงว่าเขารักฉัน และผู้ใดรักฉัน เขาได้อยู่กับฉันในสวรรค์"
(บันทึกโดย อัตติรมีซี)

ออฟไลน์ ILHAM

  • เพื่อนตาย T_T
  • *****
  • กระทู้: 11348
  • เพศ: ชาย
  • Sherlock Holmes
  • Respect: +273
    • ดูรายละเอียด
    • ILHAM
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: เม.ย. 18, 2008, 02:04 PM »
0
ผมคิดว่ามันไม่น่าจะมีนะครับพี่ เพราะถ้าเราแปลตรงๆมันก็ไม่เข้าใจอยู่ดี ผมคิดว่ามันต้องใช้ศัพท์เฉพาะแบบนี้แหละครับ แล้วจำเอาว่ามันคืออะไร จะได้เข้าใจตรงกัน พี่น่าจะลองอ่านตั้งแต่ตอนแรกเลยนะ อย่ามาเล่นลัดคิวสิ เดี๋ยวไม่เข้าใจ ไฟล์เสียงก็มี ลองฟังดูสิครับ
إن شاءالله ติด ENT'?everybody

Sherlock Holmes said "How often have I said to you that when you have eliminated the impossible, whatever remains, however improbable, must be the truth?"
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ออฟไลน์ ฮุ้นปวยเอี๊ยง

  • رَبِّ زدْنِيْ عِلْماً
  • เพื่อนแท้ (-.^)
  • ****
  • กระทู้: 994
  • เพศ: ชาย
  • وَارْزُقْنِيْ فَهْماً
  • Respect: +116
    • ดูรายละเอียด
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: เม.ย. 20, 2008, 09:04 PM »
0
باب الفاعل


الفاعل:هو الاسم المرفوعُ المذكورُ قبلَهُ فِعلَهُ، وهو على قسمين: ظاهِر ومُضمَر.


บท ฟาอีล ผู้กระทำ(ประธาน)


ฟาอีล คือ อิเซมที่ถูกรอเฟาะอ์ อิเซมที่ถูกกล่าว แฟแอล ก่อน ฟาอีล

แบ่งออกเป็น 2ประเภท

1.ظاهِر   คือ อิเซมที่บ่งบอกของตัวสิ่งๆนั้น

2.مُضمَر คือ คำที่บ่งบอกถึง แบ่งออกเป็น3

1. แทนตัวผู้พูด บุรุษที่1
2. ผู้ที่เราพูดด้วย บุรุษที่2
3. ผู้ที่เราพูดถึง บุรุษที่ 3


فالظاهر نحو قولِك

และอิเซม ซอเฮร ดั่งที่หมือนท่านพูดว่า

قام زيدٌ  คนชื่อ เซด 1 คนได้ยืนขึ้น (!!!!!!!!!!!!!!สังเกตุดูน่ะครับ แฟแอล จะมาก่อน ฟาอีล เพราะภาษาอาหรับมันเป็นแบบนี่ !!!!!!!!!)

وقام الزَّيدانِ  คนชื่อ เซด 2 คน ได้ยืนขึ้น

قامَ الزَّيدونَ   คนชื่อ เซด หลายคน ได้ยืนขึ้น  (คำต่างๆก็เทียบไปน่ะครบ ระหว่าง มุซักกัร กับ มุอันนั่ส ไม่เหมือนกัน)



2. مُضمَر   ดั่งที่กล่าวมาด้านบน

ก็ได้แก่คำ   

ضَربْتُ، وضربْنَا، وضَرَبْتَ، وضَرَبْتِ، وضربْتُمَا ، وضربْتُم، وضرَبْتُنَّ، وضَرَبَ، وضَرَبَتْ، وضَرَبَا، وضَرَبُوا
 وضَرَبْنَ


ضَربْتُ، ฉันได้ตี
وضربْنَاเราได้ตี
وضَرَبْتَเทอ(ผู้ชาย)ได้ตี
ضَرَبْتِ،เทอ(ผู้หญิง)ได้ตี
ضربْتُمَاผู้ชาย สอง คนได้ตี
ضربْتُم  เราทั้งหมด(ชาย)ได้ตี
ضرَبْتُنَّ، เราทั้งหมด(หญิง)ได้ตี
ضَرَبَ  เขา(ชาย)ได้ตี ตักดีร هو (บุรุษที่3)

ضَرَبَتْ  เขา(หญิง)ได้ตี ตักดีร هي   (บุรุษที่3)

ضَرَبَا،  เขา (หญิง/ชาย) 2 คน ได้ตี ตักดีร هما (บุรุษที่3)

ضَرَبُوا   เขาผู้ชาย ทั้งหมด ได้ตี(บุรุษที่3)

وضَرَبْنَ  เขาผู้หญิง ทั้งหมด ได้ตี(บุรุษที่3)








ออฟไลน์ Al Fatoni

  • ซังกุงคนสนิท ( +_-)
  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 4905
  • เพศ: ชาย
  • จงอยู่กับความจริงแล้วจะไม่หลง
  • Respect: +76
    • ดูรายละเอียด
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: เม.ย. 21, 2008, 04:23 PM »
0
ดีๆ ผมอ่อนนะฮุมากๆ
ท่านขนขวายอะไร ท่านก็จะได้สิ่งนั้น - วัลลอฮุอะอฺลัม

ออฟไลน์ julee

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 97
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: เม.ย. 21, 2008, 06:18 PM »
0
แบ่งออกเป็น 2ประเภท

1.ظاهِر   คือ อิเซมที่บ่งบอกของตัวสิ่งๆนั้น

2.مُضمَر คือ คำที่บ่งบอกถึง แบ่งออกเป็น3

อธิบายเพิ่มเติมสักนิดน่ะ

1.ظاهِر   หมายถึง  ฟาอิลที่ปรากฏให้เห็นเป็นถ้อยคำ

เช่น

قام زيدٌ  คนชื่อ เซด 1 คนได้ยืนขึ้น (!!!!!!!!!!!!!!สังเกตุดูน่ะครับ แฟแอล จะมาก่อน ฟาอีล เพราะภาษาอาหรับมันเป็นแบบนี่ !!!!!!!!!)

وقام الزَّيدانِ  คนชื่อ เซด 2 คน ได้ยืนขึ้น

قامَ الزَّيدونَ   คนชื่อ เซด หลายคน ได้ยืนขึ้น  (คำต่างๆก็เทียบไปน่ะครบ ระหว่าง มุซักกัร กับ มุอันนั่ส ไม่เหมือนกัน)

2.مُضمَر  หมายถึง ฟาอิลที่ซ้อนอยู่ในเฟี๊ยะอิล(กริยา)  ต้องตีกดีรสมมุติ ดอมีร  ที่ซ่อนอยู่ในกริยานั้น 

เช่น

ضَرَبَ  เขา(ชาย)ได้ตี ตักดีร هو (บุรุษที่3)

ضَرَبَتْ  เขา(หญิง)ได้ตี ตักดีร هي   (บุรุษที่3)

ضَرَبَا،  เขา (หญิง/ชาย) 2 คน ได้ตี ตักดีร هما (บุรุษที่3)

ضَرَبُوا   เขาผู้ชาย ทั้งหมด ได้ตี(บุรุษที่3)

وضَرَبْنَ  เขาผู้หญิง ทั้งหมด ได้ตี(บุรุษที่3)
الفخر كل الفخر أني اشعري

ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #9 เมื่อ: ม.ค. 02, 2011, 07:05 AM »
0
 :salam:ครับ
باب مرفوعات الأسماء

المرفوعاتُ سبعة، وهي: الفاعل ، والمفعول الذي لم يُسَمَّ فاعِلُهُ، والمبتدأ وخبره،واسم كان واخواتها، وخبر إنَّ وأخواتها، والتابع للمرفوع، وهو أربعة أشياء: النَّعتُ، والعطفُ، والتوكيد، والبَدَل
.

باب مرفوعات الأسماء

บทที่ว่าด้วยการ คำนามต่างๆ นั้นสระ ดอมมะห์(مرفوعات )ที่อักษรท้าย

المرفوعاتُ سبعة، وهي
การที่คำนามต่างๆมีสระ ดอมมะห์(مرفوعات) ที่อักษรท้ายมี อยู่ 7 ที่ด้วยกัน

1.  الفاعل  คำนามที่บ่งบอกถึงการเป็นผู้กระทำ อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่เช่น قام زيد  กอม่า ซัยดุน(สีแดงนั้นเป็นประธานมีสระดอมมะห์อยู่ท้ายคำ)
 
2.  والمفعول الذي لم يُسَمَّ فاعِلُهُ         คำนามที่บ่งบอกถึงการเป็นผู้ถูกกระทำโดยไม่กล่าวถึงผู้กระทำในประโยค(الفاعل) อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่
เช่น   ضرب زيد    ดูริบ้าซัยดุน(สีแดงนั้นเป็นกรรมโดยการกระทำของ ดูริบ้าไม่กล่าวนามประธานอักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่บนซัยดุน) ซัยดุนได้ถูกตี
3. المبتدأ          คำนาม(المبتدأ )เป็นคำนามเริ่มต้นประโยค  อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่เช่น   زيد قائم   ซัยดุนกออิมุน (ซัยดุนเป็นคำนานเริ่มต้นประโยค(المبتدأ )อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่)

4. خبر           คำนามที่เป็น(خبر)นั้นคือคำนามขยายคำนามที่อยู่ข้างหน้ามันและทำให้คำนามที่อยู่หน้ามัน (المبتدأ)มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่
เช่น   زيد قائم   ซัยดุนกออิมุน กออิมุนเป็นคอบัร(خبر)ของซัยดุน อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่

5. اسم كان واخواتها          คำนามที่เป็นคำเริ่มต้นประโยค(المبتدأ)และมีคำว่า كان มาปรากฎก่อนหน้ามัน(المبتدأ) ทำให้(المبتدأ)อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่และเรียก (المبتدأ) ว่า อิเซม กาน่า(اسم كان)(ไม่ใช่ อิเซม แคเมรูมหรืออิเซมแอฟริกาใต้  hehe )และ อิเซม กาน่า มีพวกอยู่ ทำให้ (المبتدأ) มีลักษณะเดียวกันจะมีกล่าวใน บทต่อๆไป ตัวอย่างอิเซม กาน่า كان زيد قائم  กาน่าซัยดุนกอิมัน ซัยดุนเป็น อิเซมกาน่า อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่

6. وخبر إنَّ وأخواتها         คำนามที่เป็น(خبر)คือคำนามขยายคำนามที่อยู่ข้างหน้ามันและทำให้คำนามที่อยู่หน้ามัน (المبتدأ)มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เมื่อมีคำว่า ( إنَّ ) ปรากฎอยู่หน้ามันนั้นทำให้คำนามที่เป็น(خبر)ในประโยค อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่และคำว่า ( إنَّ ) มีพวกอยู่ ซึ่งทำให้คำนามที่เป็น(خبر) เป็นลักษณะเดียวกันมีกล่าวใน บทต่อๆไป ตัวอย่างคอบัร อินน่า  ان زيد قائم  อินน่าซัยดันกออิมุน กออิมุน เป็น คอบัร อินน่า(خبر إنَّ) อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ ปรากฎอยู่

7. والتابع للمرفوع، وهو أربعة أشياء: النَّعتُ، والعطفُ، والتوكيد، والبَدَل         คำนามต่างๆที่ อักษรตัวท้ายมีสระ ดอมมะห์ปรากฎอยู่โดยการตามคำนามที่ อักษรตัวท้ายมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่ ซึ่งมีอยู่ 4 ประการด้วยกันในการที่คำนามนั้นจะตามในการที่อักษรตัวท้ายจะมีสระ ดอมมะห์ ด้วยกันคือ
 7.1 النَّعتُ คือคำที่บอกลักษณะของ คำนามที่อยู่ก่อนหน้ามัน เช่น هذا كتاب مفيد ฮาซากีตาบุนมูฟีดุน มูฟีดุนจะตามกีตาบุนในการที่ตัวอักษรสุดท้ายมีสระดอมมะห์ นี่คือหนังสือที่มีประโยชน์(สีแดงคือ นะห์ตุ)
 7.2 العطفُ  คือคำ สันธาน คำที่เชื่อมระหว่างคำในประโยค ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 9 คำ แตกต่างกันในลักษณะการเชื่อม   เช่น نضج الخوخ والعنب        น่าดิยั้ลเคาคู้ ว่าอินะบู้ เคาคู้และอินะบู้มีสระท้ายเป็นดอมมะห์ที่อักษรท้ายเหมือนกันเนื่องจากมี วาว อะตอฟเชื่อมอยู่ระหว่างกลาง ลูกท้อและองุ่นได้สุก(สีแดงคือ อะตอฟ)
 7.3 التوكيد คือคำที่ตามคำ ข้างหน้ามัน ในประโยค โดยมันจะถูกกล่าวเพื่อย้ำหรือขจัดความสงสัยของผู้ฟังในสิ่งที่ไม่ได้เจาะจง เช่น  قام زيد نفسه กอม่าซัยดุนนัฟซูฮู   นัฟซูท้ายอักษรมีสระดอมมะห์ ตามซัยดุนที่มีสระดอมมะห์บนอักษรท้าย  ซัยดุนเขายืนด้วยตัวของเขาเอง(เตากีดคือสีแดง)
 7.4 البَدَل  คือคำที่ตามคำก่อนหน้ามัน ซึ่งคำที่อยู่ก่อนหน้ามันนั้นไม่ไช่คำที่มุ่งประสงค์(ที่มุ่งประสงค์คือالبَدَل) เช่น حضر اخوك حسن  ฮะซันฮาดอร่อ อะคูก้า ฮะสะนุน  ฮะสะนุนจะตาม อะคู ในการที่อักษรตัวท้ายมีสระดอมมะห์  พี่ชายของท่านมาแล้ว(บะดัลคือฮะซัน)
         ปล ถ้าท่านเขียนภาษาคำอาหรับข้างบนแล้วใส่สระจะดูง่ายกว่านี้ครับ
                    วัสลาม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ม.ค. 02, 2011, 10:22 AM โดย amadkrd254 »

ออฟไลน์ amad 254

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 176
  • Respect: +48
    • ดูรายละเอียด
Re: มะตันอัลอะญัรรูมียะฮ์บาอัลฟาอีล (ตอน6)
« ตอบกลับ #10 เมื่อ: ม.ค. 02, 2011, 03:03 PM »
0
باب الفاعل

الفاعل:هو الاسم المرفوعُ المذكورُ قبلَهُ فِعلَهُ، وهو على قسمين: ظاهِر ومُضمَر.

فالظاهر نحو قولِك: قام زيدٌ، ويقوم زيدٌ، وقام الزَّيدانِ، ويقومُ الزَّيدانِ، وقامَ الزَّيدونَ، ويقوم الزَّيدون، وقام الرجالُ، ويقومُ الرجالُ، وقامَت هِندُ، وتقومُ هندُ، وقامَتِ الهِندانِ، وتقوم الهندان، وقامت الهِنداتُ ، وتقومُ الهنداتُ، وقامَت الهُنُودُ ، وتقوم الهُنُودُ، وقامَ أخوكَ، ويقوم أخوك، وقامَ غُلامي، ويقومُ غُلامي، وما أشبَهَ ذلك.

والمُضمَر اثنا عشر، نحو قولك: ضَربْتُ، وضربْنَا، وضَرَبْتَ، وضَرَبْتِ، وضربْتُمَا ، وضربْتُم، وضرَبْتُنَّ، وضَرَبَ، وضَرَبَتْ، وضَرَبَا، وضَرَبُوا، وضَرَبْنَ


 :salam:ครับ
 
                                                     باب الفاعل

                         บทว่าด้วย การเป็นประธาน (เปิดเมาลิดกลาง hehe ล้อเล่นครับ) บ่งบอกถึงผู้กระทำ

الفاعل:هو الاسم المرفوعُ المذكورُ قبلَهُ فِعلَهُ، وهو على قسمين: ظاهِر ومُضمَر.

คำนามที่เป็นประธานนั้น อักษรสุดท้ายจะต้องมีสระ ดอมมะห์ เสมอ(ด้วยกับสระ หรือ ตำแหน่ง)และจะต้องตามคำกริยา คือ คำกริยาจะถูกกล่าวมาก่อนคำนามที่เป็นประธาน ซึ่งเป็นออกเป็น 2 แบบด้วยกัน
1. แบบที่แยกตัวเอง(คำนามที่เป็นประธาน)ออกมาเป็นคำตามลำพัง
2. แบบที่(คำนามที่เป็นประธาน)ต้องติดกับคำ กริยา


فالظاهر نحو قولِك: قام زيدٌ، ويقوم زيدٌ، وقام الزَّيدانِ، ويقومُ الزَّيدانِ، وقامَ الزَّيدونَ، ويقوم الزَّيدون، وقام الرجالُ، ويقومُ الرجالُ، وقامَت هِندُ، وتقومُ هندُ، وقامَتِ الهِندانِ، وتقوم الهندان، وقامت الهِنداتُ ، وتقومُ الهنداتُ، وقامَت الهُنُودُ ، وتقوم الهُنُودُ، وقامَ أخوكَ، ويقوم أخوك، وقامَ غُلامي، ويقومُ غُلامي، وما أشبَهَ ذلك.

คำนามที่เป็นประธานแบบที่แยกตัวเองออกมาเป็นคำตามลำพัง เราสามารถ กล่าวได้ด้งนี้

1.  قام زيدٌ   ซัยดุน1คนได้ยืน  
กอม่า(กริยาอดีต) ซัยดุน(คำนามประธานคนเดียว) ท้ายอักษรคำนามประธานมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่

2.  يقوم زيدٌ  ซัยดุน1คนกำลังยืน
ย่ากูมู่(กริยาปัจจุบัน มียานำบอกถึงบุรษที่3ชาย)ซัยดุน(คำนามประธานคนเดียว) ท้ายอักษรคำนามประธานมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่          
 
3. قام الزَّيدانِ   ซัยดุน2คนได้ยืน
กอม่า(กริยาอดีต)ซัยดานิ(คำนามประธาน2คน) ท้ายอักษรคำนามประธานมี เพิ่มอลีฟและนูน ซึ่งบ่งบอกถึง2คน โดยที่ อลีฟ ใช้ในนามของดอมมะห์เมื่อกล่าวถึง2 และ นูน ใช้แทน ตันวีน    

4. يقومُ الزَّيدانِ   ซัยดุน2คนกำลังยืน
 ย่ากูมู่(กริยาปัจจุบันมียานำบอกถึงบุรษที่3ชาย)ซัยดานิ(คำนามประธาน2คน)   ท้ายอักษรคำนามประธานมี เพิ่มอลีฟและนูน ซึ่งบ่งบอกถึง2คน โดยที่ อลีฟ ใช้ในนามของดอมมะห์เมื่อกล่าวถึง2 และ นูน ใช้แทน ตันวีน                  

5.  قامَ الزَّيدونَ ซัยดุนหลายๆคนได้ยืน
 กอม่า(กริยาอดีต)ซัยดูน(คำนามประธานพหูพจน์เพศชายجمع مذكر سالم)                    
 ท้ายอักษรคำนามประธานเพิ่ม วาวและนูน ซึ่งบ่งบอกถึงเพศชายหลายๆคน โดยที่ วาว นั้นใช้ในนามของดอมมะห์เมื่อกล่าวถึงหลายๆคน และนูนใช้แทนตันวีน    

6.   يقوم الزَّيدون ซัยดุนหลายๆคนกำลังยืน
ย่ากูมู่(กริยาปัจจุบันมียานำบอกถึงบุรษที่3ชายجمع مذكر سالم) ซัยดูน(คำนามประธานหลายคนพหูพจน์เพศชาย) ท้ายอักษรคำนามประธานเพิ่ม วาวและนูน ซึ่งบ่งบอกถึงเพศชายหลายๆคน โดยที่ วาว นั้นใช้ในนามของดอมมะห์เมื่อกล่าวถึงหลายๆคน และนูนใช้แทนตันวีน    


7.   قام الرجالُ ผู้ชายหลายคนได้ยืน
กอม่า(กริยาอดีต) อัรริยาลุ (คำนามประธานพหูพจน์เปลี่ยนรูป(جمع تكسير)เพศชาย)  ท้ายอักษรมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่        

8.   يقومُ الرجالُ  ผู้ชายหลายคนกำลังยืน
ย่ากูมู่(กริยาปัจจุบันมียานำบอกถึงบุรษที่3ชาย) อัรริยาลุ (คำนามประธานพหูพจน์เปลี่ยนรูป(جمع تكسير)เพศชาย)  ท้ายอักษรมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่      ผู้ชายหลายคนกำลังยืน          

9.   قامَت هِندُ   ฮินดุนได้ยืน
กอม่าติ(กริยาอดีตตาต่อท้ายบ่งบอกถึงเพศหญิงในกริยาอดีต) ฮินดุน (คำนามประธานหญิงคนเดียว)    ท้ายอักษรคำนามประธานมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่    

10.  تقومُ هندُ ฮินดุนกำลังยืน
ต้ากูมู่(กริยาปัจจุบันมีตานำบอกถึงบุรุษที่3หญิง)ฮินดุน(คำนามประธานหญิงคนเดียว)       ท้ายอักษรคำนามประธานมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่          

11.  قامَتِ الهِندانِ ฮินดุน2คนได้ยืน
กอม่าติ(กริยาอดีตตาต่อท้ายบ่งบอกถึงเพศหญิงในกริยาอดีต) ฮินดานิ(คำนามประธาน2คนหญิง) ท้ายอักษรคำนามประธานมี เพิ่มอลีฟและนูน ซึ่งบ่งบอกถึง2คน โดยที่ อลีฟ ใช้ในนามของดอมมะห์เมื่อกล่าวถึง2 และ นูน ใช้แทน ตันวีน          


12.  تقوم الهندان ฮินดุน2คนกำลังยืน
ต้ากูมู่(กริยาปัจจุบันมีตานำบอกถึงบุรุษที่3หญิง) ฮินดานิ(คำนามประธาน2คนหญิง)   ท้ายอักษรคำนามประธานมี เพิ่มอลีฟและนูน ซึ่งบ่งบอกถึง2คน โดยที่ อลีฟ ใช้ในนามของดอมมะห์เมื่อกล่าวถึง2 และ นูน ใช้แทน ตันวีน                    

13. قامت الهِنداتُ  ฮินดุนหลายคนได้ยืน
กอม่าติ(กริยาอดีตตาต่อท้ายบ่งบอกถึงเพศหญิงในกริยาอดีต) ฮินดาตู้ (คำนามประธานหลายคนหญิง พหูพจน์เพศหญิง(جمع مؤنث سالم))   ท้ายอักษรคำนามประธานเพิ่ม อลีฟและตา ซึ่งบ่งบอกถึงเพศหญิงหลายๆคน โดยที่อักษรตัวท้ายมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่      

14.  تقومُ الهنداتُ ฮินดุนหลายคนกำลังยืน
ต้ากูมู่(กริยาปัจจุบันมีตานำบอกถึงบุรุษที่3หญิง) ฮินดาตู้ (คำนามประธานหลายคนหญิง พหูพจน์เพศหญิง(جمع مؤنث سالم))   ท้ายอักษรคำนามประธานเพิ่ม อลีฟและตา ซึ่งบ่งบอกถึงเพศหญิงหลายๆคน โดยที่อักษรตัวท้ายมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่            

15.  قامَت الهُنُودُ  ฮินดุนหลายคนได้ยืน
 กอม่าติ(กริยาอดีตต่อท้ายบ่งบอกถึงเพศหญิงในกริยาอดีต)  ฮูนูดุ(คำนามประธานพหูพจน์เปลี่ยนรูป(جمع تكسير)เพศหญิง)  ท้ายอักษรมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่                      

16.  تقوم الهُنُودُ   ผู้หญิงหลายคนกำลังยืน    
ต้ากูมู่(กริยาปัจจุบันมีตานำบอกถึงบุรุษที่3หญิง)    ฮูนูดุ(คำนามประธานพหูพจน์เปลี่ยนรูป(جمع تكسير)เพศหญิง)  ท้ายอักษรมีสระดอมมะห์ปรากฎอยู่                  

17.   قامَ أخوكَ    พี่ชายของท่านได้ยืน
กอม่า(กริยาอดีต) อะคู (คำนาม(ในตำแหน่งประธาน)ที่มาจากคำนามทั้ง5 บ่งบอกถึงเพศชาย1คนและถูกทำให้เกี่ยวข้องโดยการเพิ่มคำนามตามหลังเรียก مضاف)ก้า (คำนามที่ตามหลัง مضاف เรียกว่า مضاف اليه อยู่ในตำแหน่งกัสเราะห์) ท้ายอักษรของคำนามประธาน เป็น วาว ซึ่งใช้แทน ดอมมะห์ ในคำนามทั้ง 5


18.   يقوم أخوك   พี่ชายของท่านกำลังยืน
ย่ากูมู่(กริยาปัจจุบันมียานำบอกถึงบุรษที่3ชาย) อะคู (คำนาม(ในตำแหน่งประธาน)ที่มาจากคำนามทั้ง5 บ่งบอกถึงเพศชาย1คนและถูกทำให้เกี่ยวข้องโดยการเพิ่มคำนามตามหลังเรียก مضاف)ก้า (คำนามที่ตามหลัง مضاف เรียกว่า مضاف اليه อยู่ในตำแหน่งกัสเราะห์) ท้ายอักษรของคำนามประธาน เป็น วาว ซึ่งใช้แทน ดอมมะห์ ในคำนามทั้ง 5    

19.   قامَ غُلامي  เด็กรับใช้ของฉัน(เพศชาย)ได้ยืน
กอม่า(กริยาอดีต)ฆูลามุน (คำนามที่อยู่ตำแหน่งประธานและต้องมีสระดอมมะห์ที่อักษรท้ายแต่)เมื่อ(اءضافة) กับยา(متكلم)ผู้พูด  โดยที่ก่อนยา(متكلم)ต้อง ใส่กัสเราะห์ غُلام ก่อน ยา (متكلم) เมื่อความเหมาะสมนั้น   จึงทำให้ غُلام  จำเป็นต้องเป็นสระกัสเราะห์ก่อนยา (متكلم) โดยให้การใส่สระดอมมะห์ที่อักษรท้ายคำ  غُلام  เป็นตำแหน่งที่ สระดอมมะห์อยู่แทน          

20.   يقومُ غُلامي  เด็กรับใช้ของฉัน(เพศชาย)กำลังยืน
ย่ากูมู่(กริยาปัจจุบันมียานำบอกถึงบุรษที่3ชาย)  ฆูลามุน (คำนามที่อยู่ตำแหน่งประธานและต้องมีสระดอมมะห์ที่อักษรท้ายแต่)เมื่อ(اءضافة) กับยา(متكلم)ผู้พูด  โดยที่ก่อนยา(متكلم)ต้อง ใส่กัสเราะห์ غُلام ก่อน ยา (متكلم) เมื่อความเหมาะสมนั้น   จึงทำให้ غُلام  จำเป็นต้องเป็นสระกัสเราะห์ก่อนยา (متكلم) โดยให้การใส่สระดอมมะห์ที่อักษรท้ายคำ  غُلام  เป็นตำแหน่งที่ สระดอมมะห์อยู่แทน    
وما أشبَهَ ذلك[/color]              
และอื่นๆ สิ่งที่คล้ายดังที่กล่าวไว้ อีกมากมาย

             
                             2. แบบที่(คำนามที่เป็นประธาน)ต้องติดกับคำ กริยา

 
والمُضمَر اثنا عشر، نحو قولك: ضَربْتُ، وضربْنَا، وضَرَبْتَ، وضَرَبْتِ، وضربْتُمَا ، وضربْتُم، وضرَبْتُنَّ، وضَرَبَ، وضَرَبَتْ، وضَرَبَا، وضَرَبُوا، وضَرَبْنَ


คำสรรพนามที่ต้องติดกับ คำกริยาหรือ คำนาม หรือ คำฮารัฟ(คำโดด) มีอยู่ 12 คำด้วยกัน

1. ضَربْتُ   ดอ ร็อบ ตู้             ฉันได้ตี 
 ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)  ตู้ (ตา คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่1ผู้พูด)

2. ضربْنَا    ดอ ร็อบ นา            เราได้ตี 
 ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)      นา   (นูนอลีฟ คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่1พหูพจน์ ผู้พูดและมีผู้อื่นอยู่ร่วมด้วย)
   
3. وضَرَبْتَ ดอ ร็อบ ต้า            ท่านชายได้ตี   
 ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)    ต้า   (ตา คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่2 ชาย)                                 

4. ضَرَبْتِ   ดอ ร็อบ ติ             ท่านหญิงได้ตี                 
ดอร่อบ้า  (กริยาอดีต)      ตี้    ( คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่2หญิง)

5. ضربْتُمَا ดอ ร็อบ ตุมา          ท่านชายและหญิงทั้ง2 ได้ตี                         
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)      ตุมา  ( คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่2 (2คน))

6. ضربْتُم    ดอ ร็อบ ตุม          ท่านชายทั้งหลายได้ตี                   
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)        ตุม  ( คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่2 พหูพจน์ชาย)

7. ضرَبْتُنَّ    ดอ ร็อบ ตุนน่า       ท่านหญิงทั้งหลายได้ตี               
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)       ตุนน่า (คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่2พหูพจน์หญิง)

8. ضَرَبَ      ดอ ร่อ บ้า          เขา ชาย ได้ตี  ( สรรพนามที่ซ่อนเร้น  โดยกำหนดคำว่า เขา ขึ้นมา)   
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)       บ้า      (คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่3ชาย)

9. ضَرَبَتْ     ดอ ร่อ บัต         เขา หญิง ได้ตี  ( สรรพนามที่ซ่อนเร้น  โดยกำหนดคำว่า เขา ขึ้นมา)         
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)      บัต      (คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่3หญิง )       

10. ضَرَبَا     ดอ ร่อ บา         เขาทั้ง2 หญิงและชาย ได้ตี 
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)      บา        (คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่3 )   

11. ضَرَبُوا    ดอ ร่อ บู           เขาทั้งหลายได้ตี         
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)    บู           (คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่3ชาย )     

12. ضَرَبْنَ   ดอ ร็อบ น่า         เขาหญิงทั้งหลายได้ตี         
ดอร่อบ้า (กริยาอดีต)      น่า         (คำสรรพนามหน้าที่ประธาน บุรษที่3 หญิง)       

 วัสลามครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ม.ค. 02, 2011, 08:56 PM โดย amadkrd254 »

 

GoogleTagged