อีหม่ามซะยูตีได้กล่าวไว้ในอัลฮาวี ลิลฟะตะวี่บทอัลฟะตาวา อัลมุตะอัลลิเกาะตุบิตตะเซาวุฟ
مسألة : في جماعة صوفية اجتمعوا في مجلس ذكر ، ثم إن شخصا من الجماعة
قام من المجلس ذاكرا، واستمر على ذلك لوارد حصل له : فهل له فعل ذلك
سواء كان باختياره أم لا ؟ وهل لأحد منعه وزجره عن ذلك؟.
คำถาม ในกลุ่มของชาวซูฟีนั้นมีการรวมตัวในมัจยลิส(สถานที่)ซิเกร
หลังจากนั้น ก็มีคนหนึ่งจากกลุ่มนี้ลุกขึ้นจากมัจยลิสแล้วทำการซิเกร แล้วเขาก็ซิเกรต่อไปเรื่อยๆ
(บังช่วยแปลคำนี้หน่อยครับ لوارد حصل له)
ดังนั้นจะอนุญาตให้ทำเช่นนั้นหรือไม่ และการที่เขาทำแบบเลือกทำเองกับไม่เลือกเองนั้นเหมือนกันหรือไม่
และจะอนุญาติหรือไม่ที่จะมีใครมาห้ามและว่ากล่าวเขาจากการกระทำดังกล่าว
الجواب : لا إنكار عليه في ذلك ، وقد سئل عن هذا سؤال بعينه
شيخ الإسلام سراج الدين البلقني فأجاب : بأنه لا إنكار عليه في ذلك ،
وليس لمانع التعدي بمنعه ، ويلزم المتعدي بذلك التعزير .
وسئل عنه العلامة برهان الدين الأبناسي ؟ فأجاب بمثل ذلك . وزاد : أن صاحب الحال مغلوب،
والمنكر محروما ذاق لذة التواجد ولا صفا له المشروب .
إلي أن قال في آخر جوابه : وبالجملة فالسلامة في تسليم حال قوم .
وأجاب أيضا بمثل ذلك بعض أئمة الحنفية والمالكية كلهم كتبوا على هذا السؤال
بالموافقة من غير مخالفة.
คำตอบคือ ไม่มีการรังเกียจเขาในการกระทำนั้น
และได้มีการถามนี้ที่เป็นคำถามเดียวกันกับชัยคุลอิสลาม ซิรอจยุดดีน อัลบัลกินี่
แล้วเขาได้ตอบว่า ไม่มีการรังเกียจเขาจากการกระทำนั้น และไม่อนุญาตให้คนที่ห้ามไปทำการห้ามเขา
และคนที่ไปทำการห้ามเขานั้นจะต้องถุกลงโทษ(ตะอฺซีร)
และได้มีการถามเรื่องนี้แด่ท่านอัลลามะฮฺ บุรฮานุดีน อัลอับนาซี่
แล้วท่านก็ได้ตอบเหมือนกับคำตอบที่กล่าวมา และได้ทำการตอบเพิ่มเติมว่า
คนที่ทำการยืนซิเกรคนนั้นอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถบังคับตัวเองได้
และผู้ที่รังเกียจนั้นอดที่จะได้ชิมความเอร็ดอร่อยในความหลงใหล
และอดที่จะได้ดื่มดำความบริสุทธ์
เขากล่าวไปจนถึงตอนท้ายของคำตอบว่า และโดยรวมแล้วคือปลอดภัยในการยอมรับสภาพของคนกลุ่มนั้น.
และได้มีการตอบเช่นกันเป็นการตอบที่เหมือนกับคำตอบที่ผ่านของบางท่านจากบรรดาผู้นำต่างๆของหะนะฟียะฮฺ
และมาลิกี่ยะฮฺ ทุกท่านนั้นได้เขียนตอบคำถามเหล่านี้ด้วยกับการเห็นด้วยโดยปราศจากความเห็นที่ไม่เห็นด้วย
أقول : وكيف ينكر الذكر قائما والقيام ذاكر وقد قال الله تعالى : { الذين يذكرون الله قيما
وقعودا وعلى جنوبهمٍ} ؟ [آل عمران19] وقالت عائشة رضي الله عنها :
كان النبي صلى الله عليه وسلم يذكر الله على كل أحيانه .
وإن انضم إلى هذا القيام رقص أو نحوه فلا إنكار عليهم ،
فذلك من لذات الشهود أو المواجيد ، وقد ورد في الحديث رقص جعفر بن أبي طالب
بين يدي النبي صلى الله عليه وسلم لما قال له : أشبهت خَلقي وخُلقي ،
وذلك من لذة هذا الخطاب ولم ينكر ذلك عليه النبي صلى الله عليه وسلم
فكان هذا أصلا في رقص الصوفية لما يدركونه من لذات المواجيد ، وقد صح القيام والرقص
في مجالس الذكر والسماع عن جماعة من كبار الأئمة
منهم شيخ الإسلام الإمام عز الدين بن عبد السلام.
ฉันขอกล่าวว่า(อิหม่ามซะยูตี) จะไปรังเกียจการรำลึกของผู้ที่ยืนและการยืนรำลึกได้อย่างไร
และอัลลอฮุตะอาลาได้กล่าวว่า (( บรรดาผู้ที่รำลึกถึงอัลลฮฺในสภาพที่ยืน และนั่ง และนอนบนสีข้างของพวกเขา ))
และท่านหญิงอาอิชะฮฺรอดิยัลลอฮุอันฮาได้กล่าวว่า ปรากฏว่าท่านนบีซอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม
ได้รำลึกถึงอัลลอฮฺในทุกๆสภาพ.
และแม้ว่าจะมีการเต้นในขณะยืนรำลึก หรือเช่นเดียวกับการเต้น ก็ไม่มีการรังเกียจแก่พวกเขา
เพราะนั้นคือความอร่อยของอัชชุฮูดหรืออัลมะวายีด
และได้มีหะดีษการเต้นของยะฟัรบินอบีตอลิบต่อหน้าท่านนบีซอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม
ซึ่งท่านรอซูลก็ได้กล่าวแก่เขาว่าเจ้านั้นคล้ายเรือนร่างของฉันและมารยาทของฉัน
และนั้นคือความอร่อยของถ่อยคำ และท่านนบีก็ไม่ได้รังเกียจเขาแต่อย่างไร
ดังนั้นนี่ละคือรากฐานในการเต้นของชาวซูฟีที่พวกเขานั้นได้รับความเอร็ดอร่อยของอัลมะวายีด
และได้มีรายงานที่ซอฮีฮฺเชิ่อถือได้ในการยืนและการเต็นในมัจยลืสซิเกร และการได้ยิน ของบรรดากลุ่มหนึ่ง
ของผู้นำใหญ่ๆ ส่วนหนึ่งจากเขาเหล่านั้นคือ ชัยคุลอิสลาม อัลอีหม่าม อิซซุดดีน บินอับดุสสลาม.
ขอผู้รู้ช่วยตรวจทานการแปลของผมด้วยครับ
วัสลาม