ผู้เขียน หัวข้อ: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด  (อ่าน 5470 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ Nishing

  • เพื่อนแรกพบ (^^)/
  • *
  • กระทู้: 7
  • Respect: -1
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #15 เมื่อ: ก.ย. 20, 2011, 07:45 PM »
0
 :salam:
ถ้าฮาดิษ จากภรรยานบี ผมกล่าวผิด ก็ขอมอัฟ และขอถอนคำพูดคับ ผมจำแบบสมบูรณ์ไม่ได้ แต่นัยยะมันประมานนี้คับ
หากผู้วิภาษ จะแปลฮาดิษนี้ ให้ถูก ก็จะดีไม่น้อย เลยคับ


แล้วที่ผมบอกว่า ชายหญิงละหมาดเหมือนกันคับ
นบีบอก "พวกท่านจงละหมาดเสมือนพวกท่านเห็นฉันละหมาด"

นบีพูดครอบคลุมเลยคับทั้ง ญ และ ช

คำพูดของผมยิ่งผิดขึ้นไปอีก......อย่างไรคับ?

ออฟไลน์ Nishing

  • เพื่อนแรกพบ (^^)/
  • *
  • กระทู้: 7
  • Respect: -1
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #16 เมื่อ: ก.ย. 20, 2011, 07:58 PM »
0
:salam:
มีฮาดิษ จากภรรยานบี(ท่านหญิงอาอีชะฮ) กล่าวว่า
ในคืนหนึ่งภรรยานบีได้เอามือลูบบนที่นอน แต่ไม่พบท่านนบี จึงได้เอื้อมมือไป และได้สัมภัสกับเท้าทั้ง2ข้างของนบีลักษณะชิดในขณะที่นบีละหมาดอยู่ในช่วงของการซูยูด ด้วยมือข้างหนึงของภรรยานบี

แสดงว่า นบีสูยูดโดยเท้าชิดกันทั้ง2ข้าง 

วัลลอฮุอะลัม

ฮะดีษท่านหญิงอาอิชะฮ์ดังกล่าวนั้น  ปราชญ์ฮะดีษท่านใหนรายงานครับ  กรุณช่วยนำเสนอให้เราทราบด้วยครับ

ขอบคุณครับ

:salam:

1. ท่านหญิงอาอิชะฮเล่าว่า
"ฉันคลำหาท่านรอซูรุ้ลลอฮ ที่เตียงนอนในคืนหนึ่ง แล้วฉันก็สัมภัสท่านร่อซู้ล โดยมือของฉันวางที่ฝ่าเท้าทั้งสองของท่านรอซู้ล ในขณะที่ท่านรอซู้ลสุญูด ในสภาพที่เท้าทั้งสองชันขึ้น"

หะดิษเศาะหี้ฮ.บัณทึกโดยมุสลิม หะดิษที่751,อบูดาวุด 745,ติรมีซีย์ 3415,นะสาอีย์ 1077,อิบนุมาญะฮ,อะหหมัด และ มาลิก หะดิษที่ 448

2. ท่านหญิงอาอิชะฮเล่าว่า
"ฉันคลำหาท่านรอซู้ล ซึ่งท่านรอซู้ลอยู่กับฉันบนเตียงนอน โดยฉันพบว่าท่านรอซู้ล อยู่ในสภาพสุญูดในสภาพส้นเท้าทั้งสองชิดกัน"

หะดิษเศาะหี้ฮ, บันถึกโดยอิบนุ คุซัยมะฮ หะดิษที่ 654 และ ฮากิม หะดิษที่ 823

วัสลาม ครับ

ออฟไลน์ muqorrabeen

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 194
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #17 เมื่อ: ก.ย. 20, 2011, 08:12 PM »
0
คำพูดของผมยิ่งผิดขึ้นไปอีก......อย่างไรคับ?

ผิดเพราะคุณไปแปลว่า ท่านนบี(ซ.ล.)ละหมาดโดยทั้งสองข้างชิดใน  ทั้งที่ไม่มีตัวบทฮะดีษบอกเช่นนั้น  ดังนั้นเมื่อคุณแปลผิด  ก็อ้างยังท่านนบี(ซ.ล.)แบบผิดๆ  แล้วฮุกุ่มก็ผิดนั่นเองครับ

ออฟไลน์ Nishing

  • เพื่อนแรกพบ (^^)/
  • *
  • กระทู้: 7
  • Respect: -1
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #18 เมื่อ: ก.ย. 20, 2011, 08:35 PM »
0
คำพูดของผมยิ่งผิดขึ้นไปอีก......อย่างไรคับ?

ผิดเพราะคุณไปแปลว่า ท่านนบี(ซ.ล.)ละหมาดโดยทั้งสองข้างชิดใน  ทั้งที่ไม่มีตัวบทฮะดีษบอกเช่นนั้น  ดังนั้นเมื่อคุณแปลผิด  ก็อ้างยังท่านนบี(ซ.ล.)แบบผิดๆ  แล้วฮุกุ่มก็ผิดนั่นเองครับ
:salam:
ออ๋ ผมหมายถึง "ได้สัมภัสกับเท้าทั้ง2ข้างของนบีลักษณะชิด ในขณะที่นบีละหมาดอยู่ในช่วงของการซูยูด" ต่างหากละคับ ผมไม่ทันวรรค อาจทำให้คุณmuqorrabeen เข้าใจผิด....รึป่าว (ประเด็นมันตรงนี้ใช่ไม๊คับ)

แล้วผมข้องใจ ที่ผมบอกว่า ชายหญิงละหมาดเหมือนกันคับ
นบีบอก "พวกท่านจงละหมาดเสมือนพวกท่านเห็นฉันละหมาด"

นบีพูดครอบคลุมเลยคับทั้ง ญ และ ช

แล้วคุณก็บอกว่า
คำพูดของผมยิ่งผิดขึ้นไปอีก

ผมอยากทราบว่า ผิดขึ้นไปอีก ผิดอย่างไรคับ?

ออฟไลน์ muqorrabeen

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 194
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #19 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 07:54 AM »
0
เท้าทั้ง2ข้างของนบีลักษณะชิด

ใหนครับ  ตัวบทฮะดีษตรงใหนที่บอกว่า "ลักษณะชิด"  ซึ่งตรงนี้คุณแปลผิด  จนกระทั่งว่าทำให้คุณเข้าใจผิดๆ ว่านบีสุญุดในลักษณะิชิด  ซึ่งไม่มีตัวบทฮะดีษบ่งบอกเลย

แล้วผมข้องใจ ที่ผมบอกว่า ชายหญิงละหมาดเหมือนกันคับ
นบีบอก "พวกท่านจงละหมาดเสมือนพวกท่านเห็นฉันละหมาด"

นบีพูดครอบคลุมเลยคับทั้ง ญ และ ช

แล้วคุณก็บอกว่า
คำพูดของผมยิ่งผิดขึ้นไปอีก

ผมอยากทราบว่า ผิดขึ้นไปอีก ผิดอย่างไรคับ?

ใช่ครับว่า ฮะดีษที่นบีพูดว่า "พวกเจ้าจงละหมาดเสมือนกับพวกท่านเห็นฉันละหมาด(คืออย่างน้อยสิ่งที่เป็นฟัรดูต้องให้เหมือน)" ครอบคลุมทั้งหญิงและชายตามนัยยะแบบโดยรวม ส่วนรายละเอียดนั้น  การละหมาดของผู้หญิงและชายจะมีความแตกต่างกันด้วย  ไม่เหมือนกันทั้งหมด 

ออฟไลน์ Nishing

  • เพื่อนแรกพบ (^^)/
  • *
  • กระทู้: 7
  • Respect: -1
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #20 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 09:29 PM »
0
เท้าทั้ง2ข้างของนบีลักษณะชิด

ใหนครับ  ตัวบทฮะดีษตรงใหนที่บอกว่า "ลักษณะชิด"  ซึ่งตรงนี้คุณแปลผิด  จนกระทั่งว่าทำให้คุณเข้าใจผิดๆ ว่านบีสุญุดในลักษณะิชิด  ซึ่งไม่มีตัวบทฮะดีษบ่งบอกเลย

แล้วผมข้องใจ ที่ผมบอกว่า ชายหญิงละหมาดเหมือนกันคับ
นบีบอก "พวกท่านจงละหมาดเสมือนพวกท่านเห็นฉันละหมาด"

นบีพูดครอบคลุมเลยคับทั้ง ญ และ ช

แล้วคุณก็บอกว่า
คำพูดของผมยิ่งผิดขึ้นไปอีก

ผมอยากทราบว่า ผิดขึ้นไปอีก ผิดอย่างไรคับ?

ใช่ครับว่า ฮะดีษที่นบีพูดว่า "พวกเจ้าจงละหมาดเสมือนกับพวกท่านเห็นฉันละหมาด(คืออย่างน้อยสิ่งที่เป็นฟัรดูต้องให้เหมือน)" ครอบคลุมทั้งหญิงและชายตามนัยยะแบบโดยรวม ส่วนรายละเอียดนั้น  การละหมาดของผู้หญิงและชายจะมีความแตกต่างกันด้วย  ไม่เหมือนกันทั้งหมด
:salam:
-แล้วสองฮาดิษข้างต้น บ่งบอกแล้วรึยังคับ ชัดเจนรึป่าว นำมาเป็นหลักฐานได้ไม๊ ?

-แล้วรายละเอียดการละหมาดระหว่างชายหญิงไม่เหมือนทั้งหมดนี่ต่างกันอย่างไรคับ ขอหลักฐานด้วยคับ ผมจะได้นำมาปฎิบัติ แล้วบอกต่อ ชุกรอน

วัสลาม

ออฟไลน์ GeT

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 453
  • اللهم اعط منفقا خلفا
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #21 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 10:16 PM »
0
เท้าทั้ง2ข้างของนบีลักษณะชิด

ใหนครับ  ตัวบทฮะดีษตรงใหนที่บอกว่า "ลักษณะชิด"  ซึ่งตรงนี้คุณแปลผิด  จนกระทั่งว่าทำให้คุณเข้าใจผิดๆ ว่านบีสุญุดในลักษณะิชิด  ซึ่งไม่มีตัวบทฮะดีษบ่งบอกเลย
 

คุณ Nishing อาจหมายถึงหะดีษต่อไปนี้ก็ได้

1. อิบนุคุซัยมะฮฺ หมายเลข 654 บทว่าด้วยการประสานสองเท้าในขณะสุญูด باب ضم العقبين في السجود
قَالَتْ عَائِشَةُ زَوْجِ النَّبِيِّ: فَقَدْتُ رَسُولَ اللَّهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَكَانَ مَعِي عَلَى فِرَاشِي، فَوَجَدْتُهُ سَاجِدًا رَاصًّا عَقِبَيْهِ مُسْتَقْبِلًا بِأَطْرَافِ أَصَابِعِهِ الْقِبْلَةَ،

2. ชัรหฺมุชกิลอัล-อาษาร หมายเลข 111
قَالَتْ عَائِشَةُ: فَقَدْتُ رَسُولَ اللهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ لَيْلَةً وَكَانَ مَعِي عَلَى فِرَاشِي فَوَجَدْتُهُ سَاجِدًا رَاصًّا عَقِبَيْهِ مُسْتَقْبِلًا بِأَطْرَافِ أَصَابِعِهِ الْقِبْلَةَ

3. เศาะฮีหฺ อิบนุหิบบาน หมายเลข 1933
قَالَتْ عَائِشَةُ فَقَدْتُ رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَكَانَ مَعِي عَلَى فِرَاشِي فَوَجَدْتُهُ سَاجِدًا رَاصًّا عَقِبَيْهِ مُسْتَقْبِلًا بِأَطْرَافِ أَصَابِعِهِ لِلْقِبْلَةِ

4. อัล-มุสตัดร็อก หมายเลข 832
قَالَتْ عَائِشَةُ زَوْجُ النَّبِيِّ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ: فَقَدْتُ رَسُولَ اللَّهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَكَانَ مَعِي عَلَى فِرَاشِي فَوَجَدْتُهُ سَاجِدًا رَاصًّا عَقِبَيْهِ، مُسْتَقْبِلًا بِأَطْرَافِ أَصَابِعِهِ الْقِبْلَةَ

5. อัส-สุนัน อัล-กุบรอ ของอัล-บัยฮะกีย์ หมายเลข 2719
قَالَتْ عَائِشَةُ زَوْجُ النَّبِيِّ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ: " فَقَدْتُ رَسُولَ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَكَانَ مَعِي عَلَى فِرَاشِي، فَوَجَدْتُهُ سَاجِدًا رَاصًّا عَقِبَيْهِ مُسْتَقْبِلًا بِأَطْرَافِ أَصَابِعِهِ الْقِبْلَةَ

6. อัตตัมฮีด ของอิบนุอับดิลบัร หมายเลข 147
قَالَتْ عَائِشَةَ زَوْجَ النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ فَقَدْتُ رَسُولِ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَكَانَ مَعِي عَلَى فِرَاشِي فَوَجَدْتُهُ سَاجِدًا رَاصًّا عَقِبَيْهِ مُسْتَقْبِلًا بِأَطْرَافِ أَصَابِعِهِ الْقِبْلَةَ


เรียนถามท่าน muqorrabeen ว่า ความหมาย หรือคำแปลที่ถูกต้องของคำว่า راصا عقبيه เป็นอย่างไรหรือ ?

ออฟไลน์ muqorrabeen

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 194
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #22 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 10:50 PM »
0

-แล้วสองฮาดิษข้างต้น บ่งบอกแล้วรึยังคับ ชัดเจนรึป่าว นำมาเป็นหลักฐานได้ไม๊ ?


อ่อครับ  คำแปลชัดเจนตามฮะดีษที่ 2

2. ท่านหญิงอาอิชะฮเล่าว่า
"ฉันคลำหาท่านรอซู้ล ซึ่งท่านรอซู้ลอยู่กับฉันบนเตียงนอน โดยฉันพบว่าท่านรอซู้ล อยู่ในสภาพสุญูดในสภาพส้นเท้าทั้งสองชิดกัน"

หะดิษเศาะหี้ฮ, บันถึกโดยอิบนุ คุซัยมะฮ หะดิษที่ 654 และ ฮากิม หะดิษที่ 823


แต่ฮะดีษที่ 2 นี้  ไม่ศอหีหฺครับ  เป็นฮะดีษชาซฺ (แหวกแนว)  ถือว่าฎออีฟ..

ออฟไลน์ muqorrabeen

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 194
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #23 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 10:59 PM »
0
ذكر الشيخ بكر أبو زيد في كتابه لا جديد في أحكام الصلاة أن السنة في الصلاة عند السجود عدم إلصاق العقبين و هذا نص كلامه :

المسألة الثانية: ضم العقبين في السجود: هذه المسألة يُتَرْجَمُ لها بذلك, وبلفظ: ((رَصُّ العقبينِ في السجود)) وبلفظ: ((جمع العقبين)) وبلفظ: ((جمع القدمين)). نظرت في جملة من مشهور كتب المذاهب الفقهية الأَربعة, عن وَصْفٍ لحال القدمين في السجود من ضم أو تفريق؛ فلم أر في كتب الحنفية والمالكية شيئاً. ورأيت في كتب الشافعية: والحنابلة, استحباب التفريق بينهما, زاد الشافعية: بمقدار شبر.

قال النووي – رحمه الله تعالى – في: ((الروضة: 1 / 259)): ((قلت: قال أصحابنا: ويستحب أن يفرق بين القدمين. قال القاضي أبو الطيب: قال أصحابنا: يكون بينهما شبر)) انتهى. وقال الشيرازي في: ((المهذب)): ((ويفرج بين رجليه؛ لما روى أبو حميد . . .)) إلخ. وذكر النووي في: ((المجموع: 3 / 373)) نحو قوله في: ((الروضة)). وعند الحنابلة, قال البرهان ابن مفلح م سنة 884 – رحمه الله تعالى – في: ((المبدع: 1 / 457)): ((ويفرق بين ركبتيه ورجليه؛ لأَنه – عليه السلام – كان إذا سجد فَرَّج بين فخذيه. وذكر ابن تميم وغيره, أنه يجمع بين عقبيه)) انتهى.

تَحَصَّل من هذا: أنه لا ذكر لجمع العقبين حال السجود في شيء من المذاهب الأَربعة, وأن نهاية ما فيها: ما ذكره ابن مفلح الحنبلي, عن ابن تميم وغيره: ((أنه يجمع عقبيه)). وقد نظرت في كتب الرواية في المذهب, فلم أرها رواية عن الإِمام أَحمد, بل إِن المرداوي في: ((الإِنصاف)) لم يعرج على كلمة ابن تميم هذه, والمقرر في مذهب الحنابلة هو التفريج بين القدمين, إلحاقاً لسنة التفريج بين الركبتين والفخذين. فما ذكره ابن تميم فرع غريب, لم يذكره رواية عن الإِمام أحمد, ولم يذكر سلفه فيه, ولا يمكن أن يكون فرعاً مخرجاً في المذهب, يبقى أنَّا لا نعلم من أَين أَتى به ابن تميم وغيره؟ والخُلف سهل؛ إِذْ السنة هي الميزان, وإليها المآل.

وإِذا كان ابن تميم وغيره مِمَّن لَمْ يُسَمَّ قد انفرد بذكر – هذا الفرع في المذاهب الأَربعة, فإن إِمام الأَئمة ابن خزيمة – رحمه الله تعالى – قد انفرد – فيما اطلعت عليه من المحدثين – بالترجمة في: ((صحيحه: 1 / 328)) بقوله: ((باب ضم العقبين في السجود)) وساق بسنده تحت هذه الترجمة حديث عائشة – رضي الله عنها – زوج النبي r قالت: ((فقدت رسول الله r وكان معي على فراشي, فوجدته ساجداً, راصاً عقبيه, مستقبلاً بأَطراف أَصابعه القبلة, فسمعته يقول . . . . .)) الحديث. ومن هُنا سَلَّكَ بعض المعاصرين هذه الرواية في الحديث الصحيح, وَقَرَّرَها سُنَّة عملية من سُنن السجود, فاقتضى الحال تحرير النظر في هذا الحديث, وفي هذه اللفظة منه: ((رَاصّاً عقبيه))؟
 
فأَقول: أَصل هذا الحديث في صحيح مسلم: (1 / 352) بسنده عن عبيد الله بن عمر العمري, عن محمد بن يحيى بن حَبّان, عن الأَعرج, عن أَبي هريرة, عن عائشة قالت: ((فقدت رسول الله r ليلة من الفراش, فالتمسته فوقعت يدي على بطن قدميه, وهو في المسجد, وهما منصوبتان, وهو يقول: اللهم أعوذ برضاك من سخطك . . .)) الحديث. ورواه أحمد: (6 / 58, 201), وأبو داود: (1 / 547), والنسائي: (1 / 102), والدارقطني: (1 / 143), وابن عبد البر في: (التمهيد: 23 / 349). وله طريق أخرى, عن يحيى بن سعيد الأَنصاري, عن محمد بن إبراهيم التيمي, عن عائشة – رضي الله عنها – قال: ((كنت نائمة إلى جنب رسول الله r ففقدته من الليل, فلمسته بيدي, فوضعت يدي على قدميه, وهو ساجد, يقول: . . .)) الحديث. رواه مالك في: ((الموطأ 1 / 214)) والترمذي: (5 / 489), والنسائي: (2 / 222), والطحاوي في: ((شرح معاني الآثار 1 / 234)), والبغوي في: ((شرح السنة: 5 / 166)).

هذا مجمل ما صح في رواية حديث عائشة – رضي الله عنهم – وهذه اللفظة عند مسلم وغيره: ((فَوَقَعَتْ يَدَيْ على بطن قدميه)) وعند مالك ومن معه: ((فَوَضَعْتُ يَدِيْ على قدميه)). لم يترجمها أَحَدٌ فيما أَعلم؛ للدلالة على ضَمِّ الساجد عقبيه, وما هذا – والله أعلم – إلا لأَن وقوع اليد, أو وضعها على القدمين, لا يلزم من ذلك التصاق العقبين وضم القدمين, والسنن لا تؤخذ بمثل هذا التمحل؟ لا سيما سنة عملية في أعظم شعائر الإِسلام الظاهرة.

بقي لفظ لحديث عائشة – رضي الله عنها – وفيه: ((فوجدته ساجداً رَاصّاً عقبيه)) وهو نص في رص الساجد عقبيه حال السجود, لكن ما هي درجة هذه اللفظة, وهل هي من طريق من ذكر عند مسلم وغيره أم من طريق أخرى؟ فأقول: الحديث بهذه اللفظة من طريق أخرى, أخرجه: ابن خزيمة: (654) وترجمه بقوله: ((باب ضم العقبين في السجود)) ومن طريقه: ابن حبان: (1933) والطحاوي في: ((شرح معاني الآثار: 1 / 234)) وفي: ((مشكل الآثار / 111)) والحاكم في: ((المستدرك: 1 / 228)) والبيهقي في: ((الكبرى: 2 / 116)) وابن عبد البر في: ((التمهيد: 23 / 348)). ولم يترجمه واحد ممن ذكر في محل الشاهد منه هنا. وإسناده عند جميعهم من طريق: سعيد بن أبي مريم, أخبرنا يحيى بن أيوب, حدثني عمارة بن غزية, سمعت أبا النضر, سمعت عروة, قال: قالت عائشة: ((فقدت رسول الله r وكان على فراشي, فوجدته ساجداً, راصاً عقبيه, مستقبلاً بأَطراف أصابعه القبلة, فسمعته يقول: . . . .)) الحديث.
 
قال الحاكم بعده: ((هذا حديث صحيح على شرط الشيخين, ولم يخرجاه بهذا اللفظ, لا أَعلم أحداً ذكر ضم العقبين في السجود غير ما في هذا الحديث)) انتهى. ووافقه الذهبي في: ((تلخيصه)). وهذه الموافقة غريبة من الذهبي – رحمه الله تعالى -؛ إذ أَعَلَّ أحاديث أُخر بيحيى بن أيوب في تلخيصه للمستدرك, كما في: ((2 / 201, 3 / 97, 4 / 44, 4 / 243).

ويحيى بن أيوب – رحمه الله تعالى – وإن أخرج له الجماعة إلا البخاري استشهاداً, فإن كلمة الحفاظ اختلفت فيه اختلافاً كثيراً, بين مُوَثِّق, ومُجَرِّح, ومُعْتَدِلٍ, بأَنه يقع في حديثه غرائب, ومناكير, فَتُتقَّى.
 
ومن أَعدل ما رأيته في منزلته كلمة الإِمام أحمد – رحمه الله تعالى – إذ قال كما في: ((الضعفاء)) للعقيلي: (ص / 211): ((وقال أحمد بن محمد: سمعت أبا عبد الله, وذكر يحيى ابن أيوب المصري, فقال: كان يحدِّث من حفظه, فذكرت له من حديثه: يحيى بن أيوب, عن عمرة عن عائشة – رضي الله عنها – أن النبي r كان يقرأ في الوتر, فقال: هاء, من يحتمل هذا؟)) انتهى.

• الخلاصـة: أن حديث عائشة – رضي الله عنها – أصله صحيح في صحيح مسلم, وغيره, وليس في لفظه الصحيح عند مسلم ومن معه ((رص العقبين حال السجود)), ولم يأت لها ذكر في أحاديث الصحابة الطوال المشهورة في وصفهم صلاة النبي r وقد وصفوا تفتيخ أصابع رجليه نحو القبلة, وضم أصابع يديه حال سجوده r. وأن هذه اللفظة: ((رص العقبين وهو ساجد)) شاذة, انفرد بإِخراجها ابن خزيمة ومن أتى من طريقة, ابن حبان فمن بعد, وأن الحال مما ذكر الحاكم في قوله: ((لا أعلم أحداً ذكر ضم العقبين في السجود غير ما في هذا الحديث)) انتهى. وهذه كلمة استقرائية مفيدة شذوذ هذه اللفظة ونكارتها, وأن ترجمة ابن خزيمة لهذه الرواية بقوله: ((باب ضم العقبين في السجود)) تعني فقه هذه الرواية التي أَسندها, مع صرف النظر عن صحتها من عدمها, لا أنها صحيحة في نفس الأَمر, ويقع هذا كثيراً في تراجمه, فتدبر. ومنها ما تقدم قريباً من ترجمته لما أسنده في ضم الفخذين حال السجود, وقد تحرر شذوذها, فكذلك رواية رص العقبين هنا. وأنه لا يعرف في رص الساجد عقبيه آثار عن السلف عن الصحابة – رضي الله عنهم – فمن بعدهم, وأنه لم يتم الوقوف على تفريع لأَحد من الفقهاء بمشروعية رَصِّ العقبين حال السجود, سوى كلمة ابن تميم ومن معه ممن لم يُسَمَّ من الحنابلة, ولَعَلَّها من شاذ التفقه.


فبقي أن يُقال: المشروع للساجد: هو تفريج القدمين؛ استصحاباً للأَصل حال القيام في الصلاة, قال المرداوي في: ((الإِنصاف: 2 / 69)): (فوائد منها: يستحب أن يفرق بين رجليه حال قيامه . . وقال في المستوعِب: يكره أن يلصق كعبيه) انتهى. ولأَن سنة السجود: الاعتدال في الهيئة, والمجافاة, والتفاج, وتفريق الأَعضاء, أعضاء السجود, ومنها التفريق بين الركبتين, والفخذين, والقدمان, تابعان للفخذين, فتكون السنة فيهما كذلك
.
فثبت بهذا: أن السنة في القدمين حال السجود هو التفريق باعتدال على سَمْتِ البدن, دون غلو في التفريج, ولا جفاء في الإِلصاق ﴿وَكَذَلِكَ جَعَلْنَاكُمْ أُمَّةً وَسَطًا﴾والله تعالى بأَحكامه أَعلم.


ออฟไลน์ hiddenmin

  • เพื่อนรัก (6_6)
  • *****
  • กระทู้: 2453
  • เพศ: ชาย
  • 404 not found
  • Respect: +76
    • ดูรายละเอียด
    • Ikhlas Studio
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #24 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 11:03 PM »
0
ขอซับไทยด้วย

อย่างน้อยก็ขอตรงประเด็นสำคัญ  :ameen:

ออฟไลน์ muqorrabeen

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 194
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #25 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 11:35 PM »
0
ขอซับไทยด้วย

อย่างน้อยก็ขอตรงประเด็นสำคัญ  :ameen:

قال الشيخ بكر أبو زيد رحمه الله في رسالته لا جديد في أحكام الصلاة ص73 ''ويحيى بن أيوب-رحمه الله تعالى -وإن أخرج له الجماعة إلا البخاري استشهادا،فإن كلمة الحفاظ اختلفت فيه اختلافا كثيرا،بين موثق،ومجرح ،ومعتدل،بأنه يقع في حديثه غرائب،ومناكير،فتتقى.''ثم قال بعد''وأن هذه اللفظة"رص العقبين وهو ساجد "شاذة،انفرد بإخراجها ابن خزيمة ومن أتى من طريقه ،ابن حبان فمن بعد ،وأن الحال مما ذكر الحاكم في قوله:"لا أعلم أحدا ذكر ضم العقبين في السجود غير ما في هذا الحديث "انتهى،وهذه كلمة استقرائية مفيدة شذوذ هذه اللفظة ونكارتها

เชคบักร อบู เซด กล่าวในหนังสือ ลาญะดีด ฟี อะห์กามิเศาะลาห์ (ไม่มีอะไรไหม่ในบรรดาหุกุ่มของละหมาด) หน้า 73 ว่า “ยะห์ยา บิน อัยยูบ เราะหิมะฮุลลอฮ์(ผู้รายงานหะดีษที่ว่านบีละหมาดซ้นเท้าทั้งสองชิดกัน)นั้น  ถึงแม้ว่าอุลามาอ์หะดีษทั้ง 5 ท่านได้นำเสนอฮะดีษของเขาไว้  นอกจากอัลบุคอรียฺที่ได้นำเสนอของหะดีษของเขาเพื่อมาเสริมเท่านั้น  แต่แท้จริงบรรดาคำพูดของอุลามาอฺนักจำหะดีษ  ได้มีการขัดแย้งกันอย่างมากมายในเกี่ยวกับตัวของเขา  บ้างก็บอกว่าเขาได้รับความเชื่ออยู่ด้วย  บ้างก็บอกว่าเขานั้นถูกวิพากษ์วิจารณ์(ไม่ได้รับการเชื่อถือ)  และบ้างก็กล่าวถึงเขาแบบเป็นกลาง  คือในฮะดีษของเขานั้น  มีบรรดาหะดีษที่แปลก(คือรายงานคนเดียว) และบรรดาฮะดีษที่มุงกัร  ดังนั้นบรรดาหะดีษของเขาจึงถูกระวัง(เป็นพิเศษและต้องกลั่นกรองเสียก่อน)” หลังจากนั้นท่านบักร อบู เซด กล่าวว่า  “แท้จริงถ้อยคำนี้ที่ว่า (สองซ้นเท้าชิดกันในลักษณะที่นบีสุยูด) เป็นถ้อยคำหะดีษที่แหวกแนว(ชาษฺ) ซึ่งท่านอิบนุคุซัยมะฮ์ได้นำเสนอถ้อยคำนี้เพียงลำพังและท่านอิบนุหิบานก็นำเสนอตามสายรายงานเดียวกับท่านอิบนุคุซัยมะฮ์  ทั้งที่สถานะภาพของหะดีษจริงๆ แล้วนั้น  คือคำพูดของท่านอัลหากิมที่ว่า “ฉันไม่เคยรู้เลยว่ามีนักหะดีษคนใดมีการกล่าว  การรวมสองซ้นเท้าชิดกันในสุยูดนอกจากสิ่งที่มีกล่าวไว้ในหะดีษนี้เท่านั้น” ดังนั้นถ้อยคำหะดีษนี้  (คือ สองซ้นเท้าชิดกันในลักษณะที่นบีสุยูด)นั้น เป็นถ้อยคำที่ได้รับการตรวจสองแล้วปรากฏว่าชาซฺ(แหวกแนว)และเฏาะอีฟโดยขัดกับหะดีษที่ซอหีหฺกว่า”

ออฟไลน์ GeT

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 453
  • اللهم اعط منفقا خلفا
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #26 เมื่อ: ก.ย. 21, 2011, 11:56 PM »
0
เอ ทำไมเอาทัศนะของอุละมาอ์วะฮาบีมาตอบละ ทัศนะของอุละมาอ์อะฮฺลุซุนนะฮฺ อะชาอิเราะฮฺไม่มีหรือที่กล่าวถึงความถูกต้องของสำนวนหะดีษบทนี้
ที่สำคัญถึงแม้ เชคบะกัร อบูเซดจะมีทัศนะว่าชาซ แต่อัลบานีย์ (ซึ่งมีดีกรีด้านวิชาการหะดีษหนักแน่นกว่า ตามทัศนะของกลุ่มที่พวกเราเรียกว่าวะฮาบี) และอิบนุอุษัยมีน ระบุว่าถูกต้อง ไม่ได้ชาซ

ออฟไลน์ muqorrabeen

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 194
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #27 เมื่อ: ก.ย. 22, 2011, 12:20 AM »
0
เอ ทำไมเอาทัศนะของอุละมาอ์วะฮาบีมาตอบละ ทัศนะของอุละมาอ์อะฮฺลุซุนนะฮฺ อะชาอิเราะฮฺไม่มีหรือที่กล่าวถึงความถูกต้องของสำนวนหะดีษบทนี้
ที่สำคัญถึงแม้ เชคบะกัร อบูเซดจะมีทัศนะว่าชาซ แต่อัลบานีย์ (ซึ่งมีดีกรีด้านวิชาการหะดีษหนักแน่นกว่า ตามทัศนะของกลุ่มที่พวกเราเรียกว่าวะฮาบี) และอิบนุอุษัยมีน ระบุว่าถูกต้อง ไม่ได้ชาซ

          ก็เพราะกระผมกำลังคุยกับวะฮาบี  ก็เลยต้องเอาอุลามาอฺวะฮาบีมาตอบ  หากเอาอุลามมาอฺอะฮ์ลุสซุนนะฮ์มาตอบแล้ววะฮาบีจะเชื่อหรอ  และหากจะยึดกันทางด้านดีกรี  ก็ยึดกันไปเถอะ  จะชอบใครจะเลือกตามใคร  ก็บังคับกันไม่ได้อยู่แล้วครับ  ปราชญ์นักจำหะดีษท่านอัลหากิมกล่าวว่า “ฉันไม่เคยรู้เลยว่ามีนักหะดีษคนใดมีการกล่าว  การรวมสองซ้นเท้าชิดกันในสุยูด  นอกจากมีกล่าวไว้ในหะดีษนี้เท่านั้น”

          ดังนั้นถ้าหากต้องการจะตักลีดในการฮุกุ่มหะดีษ  ก็ไม่มีการบังคับกัน  แต่จะมาบอกให้คนอื่นเชื่ื่อตามทัศนะที่ฉันจะเอานั้นไม่ได้หรอก  เพราะสายรายงานหะดีษยังมีการอณุมานและมีปัญหาต้องวิเคราะห์สายรายงานกันอยู่

ออฟไลน์ GeT

  • เพื่อนสนิท (._.")
  • ***
  • กระทู้: 453
  • اللهم اعط منفقا خلفا
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #28 เมื่อ: ก.ย. 22, 2011, 01:09 AM »
0
แล้วถ้าอิหม่ามอะฮฺลุซุนนะฮฺ บอกว่าหะดีษนี้เป็นหะดีษเศาะฮีหฺละ เช่น อิหม่ามอันนะวะวี อิบนุ อัลมุลักกิน และอิบนุหะญัร

ออฟไลน์ muqorrabeen

  • เพื่อนซี้ (o_O')
  • **
  • กระทู้: 194
  • Respect: +25
    • ดูรายละเอียด
Re: ตำแหน่งของเท้าขณะสุญูด
« ตอบกลับ #29 เมื่อ: ก.ย. 22, 2011, 02:11 AM »
0
แล้วถ้าอิหม่ามอะฮฺลุซุนนะฮฺ บอกว่าหะดีษนี้เป็นหะดีษเศาะฮีหฺละ เช่น อิหม่ามอันนะวะวี อิบนุ อัลมุลักกิน และอิบนุหะญัร

        อิหม่ามอันนะวะวี กล่าวว่า

وذكرها البيهقي في السنن الكبير في باب ضم العقبين في السجود من أبواب صفة الصلاة بإسناد صحيح ، فيه رجل مختلف في عدالته

        "ท่านอัลบัยฮะกีย์ได้กล่าวบรรดารายงานเหล่านี้ไว้ในหนังสือัซซุนันอัลกะบีรของท่านในบทว่าด้วยเรื่อง การรวมสองซ้นเท้าในสุยูด จากบรรดาบทว่าด้วยเรื่องคุณลักษณะของการละหมาด ด้วยสายรายงานที่ซอหีหฺ ซึ่งในสายรายงานนั้นมีชายคนหนึ่งที่ถูกขัดแย้งกันในความน่าเชื่อถือ" มัจญฺมุอฺ ชัรหุลมุอัซซับ

         ในแง่ของริวายะฮ์นั้น  สายรายงานซอฮิหฺ  แต่มี ยะห์ยา บิน อัยยูบ ที่มีปัญหาระหว่างปวงปราชญ์หะดีษ  และหะดีษชาษฺนั้น คือหะดีษที่มีสายรายงานซอฮิห์อยู่แล้ว แต่ไปขัดกับหะดีษที่ซอหิหฺกว่า  นี้คือการวิเคราะห์เพียงแค่สายรายงาน  แต่ในแง่ของถ้อยคำหะดีษล่ะ ที่ว่า "สองซ้นเท้าชิดกันในลักษณะที่นบีสุยูด" ที่รายงานโดยอะห์ยา บิน อัยยูบคนเดียวเท่านั้น

          และในแง่ของดิรอยะฮ์ล่ะ  อิหมามอันนะวาวีย์  มีความเข้าใจและยึดตัวบทฮะดีษดังกล่าวมาวินิจฉัยในเชิงฟิกห์อย่างไร

 

GoogleTagged