เราะมะฎอน

ละหมาดอีดที่มัสยิดหรือมุศ็อลลา?

ประเด็นที่เห็นพ้องกันเกี่ยวกับเรื่องการละหมาดอีดเป็นญะมาอะฮ์นั้นคือ ไม่วาญิบ (ไม่จำเป็น) ต้องไปละหมาดสถานที่มุศ็อลลาหรือลานกว้างที่เตรียมไว้สำหรับละหมาดอีด เนื่องจากการละหมาดที่มัสยิดนั้นเป็นที่อนุญาตให้กระทำได้ด้วยอิจญฺมาอฺแห่งปวงปราชญ์ผู้มีคุณธรรม

ซะกาตฟิตร์

ซะกาตฟิตร์ถูกตราเป็นบัญญัติในปีฮิจเราะฮ์ศักราชที่สอง  เช่นเดียวกับการถือศีลอดในเดือนรอมะดอน  และจากหะดีษที่ว่า “ท่านร่อซูลุลลอฮ์  ซ๊อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม  ได้กำหนดซะกาตฟิตร์  เพื่อชำระผู้ถือศีลอดให้สะอาดจากคำพูดที่ไร้สาระ  และหยาบคาย และเพื่อเป็นอาหารแก่คนยากจน” รายงานโดยอบูดาวูด

หัวใจของการถือศีลอด

อัลเลาะฮ์ตะอาลา ได้ทรงตรัสเกี่ยวกับเรื่องเดือนร่อมะฎอนและฮุกุ่มต่างๆ ของการถือศีลอดในครั้งเดียวในซูเราะฮ์อัลบะก่อเราะฮ์จากอายะฮ์ที่ 183-187 แต่สิ่งที่ทำให้ฉุกคิดในหัวใจก็คือ ระหว่างอายะฮ์ที่ 183-187 นั้น มีอายะฮ์หนึ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับฮุกุ่มของการถือศีลอดเลย แต่อัลเลาะฮ์ตะอาลาทรงนำมาสอดแทรกไว้ในบรรดาอายะฮ์ต่างๆ ที่กล่าวถึงฮุกุ่มการถือศีลอดเดือนร่อมะฎอน นั่นก็คืออายะฮ์ 186 ที่มีใจความว่า

ความอดทนกับการถือศีลอด

เดือนร่อมะฎอนยังมีอีกชื่อหนึ่ง ที่ถูกเรียกว่า “เดือนแห่งความอดทน” ซึ่งความอดทนนั้นเป็นตำแหน่งหรือระดับของจิตใจที่มีความสูงส่ง เพราะความอดทนนั้น เป็นความรู้สึกยังยั้งชั่งใจหรือระงับจิตใจให้พ้นจากสิ่งที่อารมณ์ใฝ่ต่ำปรารถนา ซึ่งทำให้หัวใจของผู้ศรัทธามีความรักและผูกพันกับอัลเลาะฮ์ตะอาลามากยิ่งขึ้นนั่นเอง

การละหมาดตะรอวีหฺ ตอนจบ

วิเคราะห์สายรายงานละหมาด 8 ร็อกอะฮ์

สายรายงานของท่านญาบิร: ท่านอิบนุ คุซัยมะฮ์  ได้รายงานว่า

عَنْ عِيْسَى بْنِ جَارِيَةَ عَنْ جَابِرٍ بْنِ عَبْدِ اللهِ قَالَ : صَلَّى بِنَا رَسُوْلُ اللهُ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَ سَلَّمَ فِيْ رَمَضَانَ ثَمَانَ رَكَعاَتٍ وَالْوِتْرَ

“จากท่านอีซา บิน ญาริยะฮ์ จากท่านญาบิร บิน อับดิลลาฮฺ  เขากล่าวว่า  ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ละหมาดกับพวกเราในเดือนร่อมะฎอน 8 ร็อกอะฮ์และทำวิติร”

การละหมาดตะรอวีหฺ ตอนสอง

เหล่าศ่อฮาบะฮ์ทำละหมาดตะรอวีหฺ 20 ร็อกอะฮ์

มีสายรายงานที่ศอฮีห์และมีน้ำหนัก ได้ยืนยันว่าเหล่าศ่อฮาบะฮ์ได้ทำละหมาดตะรอวีหฺ 20 ร็อกอะฮ์ และยืนยันว่าท้ายที่สุดแล้วละหมาดตะรอวีหฺ 20 ร็อกอะฮ์เป็นอิจญฺมาอฺของเหล่าศ่อฮาบะฮ์ในสมัยของอัลคุละฟาอฺอัรรอชีดีน

การละหมาดตะรอวีหฺ ตอนแรก

คำว่าอัตตะรอวีหฺ (اَلتَّرَاوِيْحُ) หมายถึง การหยุดพัก และตามหลักภาษาอาหรับ  เป็นพหุพจน์จากคำว่า อัตตัรวีหะฮ์ (اَلتَّرْوِيْحَةُ) ท่านอิบนุ มันซูรให้ความหมายว่า  การเรียก “อัตตัรวีหะฮ์” (اَلتَّرْوِيْحَةُ) ในเดือนร่อมะฎอนนั้น  เพราะผู้ที่ทำละหมาดจะทำการหยุดพักในทุกสี่ร็อกอะฮ์ ... และคำว่า อัตตะรอวีหฺ (اَلتَّرَاوِيْحُ) เป็นพหุพจน์จากคำว่า อัตตัรวีหะฮ์ (اَلتَّرْوِيْحَةُ) ซึ่งหมายถึง พักหนึ่งครั้ง...

การถือศีลอด 6 วันเดือนเชาวาล

เมื่อร่อมะฎอนได้ผ่านพ้นไป และอัลเลาะฮ์ตะอาลาก็ทรงประทานความเมตตาและความโปรดปรานให้เราถือศีลอดอย่างลุล่วงไปด้วยดีนั้น เราก็จงบากบั่นปฏิบัติอิบาดะฮ์ต่อไปเพื่อชุกูร (ขอบคุณ) อัลเลาะฮ์ต่อเนี๊ยะอฺมัตอันยิ่งใหญ่ที่พระองค์ได้ทรงประทานให้ และหนึ่งในอิบาดะฮ์หลังจากร่อมะฎอนนั้น คือซุนนะฮ์ให้ทำการถือศีลอด 6 วันของเดือนเชาวาลนั่นเอง

7 เคล็ดลับ จับใจเด็ก ช่วงรอมฎอน

ท่านรอซูลกล่าวว่า “หามีพ่อคนใดที่จะให้ของขวัญอันล้ำค่าแก่ลูกๆ ยิ่งไปกว่าการอบรมบ่มนิสัย” (ติรมีซีย์)

ผู้ทำการถือศีลอดมี 3 จำพวก

มุสลิมนั้นย่อมมีความแตกต่างกันตามอะมัลที่พวกเขาได้ปฏิบัติ หากเรากลับไปศึกษาซูเราะฮ์อัลวากิอะฮ์ ก็จะพบว่าอัลเลาะฮ์ตะอาลาทรงแบ่งมนุษย์ออกเป็น 3 ประเภท

Pages

ติดตามได้ทาง